กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4037
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorบุญเชิด หนูอิ่ม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2021-04-16T07:14:34Z
dc.date.available2021-04-16T07:14:34Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4037
dc.descriptionโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณเงินแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (เพิ่มเติม)th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่องสถานภาพระบบโครงสร้างองค์กรตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2550 ที่มีผลต่อธรรมาภิบาล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานภาพ ระบบโครงสร้างองค์กรและการดำเนินงานของสภามหาวิทยาลัยตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2550 และเสนอแนวทางในการปรับปรุงและแก้ไขพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2550 ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาวิจัยเป็นงานวิจัยเชิงเอกสารจากรายงานการประชุมสภามหาวิทยาลัยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551-พ.ศ. 2559 และวิเคราะห์สังเคราะห์กับงานเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสภามหาวิทยาลัย พบว่ามหาวิทยาลัยบูรพาต้องมีการปรับปรุงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2550 ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสภามหาวิทยาลัย โดยเฉพาะองค์ประกอบและจำนวนของกรรมการสภามหาวิทยาลัย ที่มาของนายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ที่ต้องให้ไม่เกิดผลประโยชน์ทับซ้อนในทุกด้านระหว่างอธิการบดีกับสภามหาวิทยาลัย กรรมการสภามหาวิทยาลัยต้องคำนึงถึงบทบาทหน้าที่ในฐานะเป็นผู้การกำกับ ดูแลในการบริหารมหาวิทยาลัยบนพื้นฐานธรรมาภิบาล การบริหารสภามหาวิทยาลัยต้องคำนึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัย รวมทั้งสภามหาวิทยาลัยต้องมีระบบการประเมิน และติดตามตรวจสอบการดำเนินงานของสภามหาวิทยาลัยที่ทำให้เกิดการยอมรับ โปร่งใสและเชื่อถือทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2550th_TH
dc.subjectธรรมรัฐth_TH
dc.subjectสาขาสังคมวิทยาth_TH
dc.titleสถานภาพระบบโครงสร้างองค์กรตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2550 ที่มีผลต่อธรรมาภิบาลth_TH
dc.title.alternativeThe status of the organizational structure system under the Burapha University Act BE 2550, which affects the good governanceen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailbooncher@go.buu.ac.thth_TH
dc.year2560th_TH
dc.description.abstractalternativeThe research on the status of the organization structure system according to the Burapha University Act 2007 that affects good governance. With the objective of studying the status Organization structure system and operation of the University Council according to Burapha University Act 2007 and proposed guidelines for improvement and amendment of the Burapha University Act 2007, regulations, regulations, announcements and other related matters In the research study, it is a documentary research from the University Council minutes since 2008 - 2016 and analyze and synthesize the academic papers related to the University Council Found that Burapha University needs to improve Burapha University Act 2007 on issues related to the University Council. Especially the composition and number of the University Council members, The source of the President of the University Council and the University Council that must not cause conflicts in all aspects between the president and the university council The University Council must take into account its role as supervisor. Take care of university administration based on good governance. The administration of the university council must take into account the stakeholders involved with the university. Including the University Council must have an assessment system and monitor the operation of the University Council that makes acceptance Transparent and reliable both inside and outside the university.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_199.pdf1.06 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น