กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4033
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | กันทิมา สุวรรณพงศ์ | |
dc.contributor.author | Martin Hussemann | |
dc.contributor.author | สุพลวัชร จันทร์คง | |
dc.contributor.author | สุรศักดิ์ ยานมณี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-04-16T03:01:23Z | |
dc.date.available | 2021-04-16T03:01:23Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4033 | |
dc.description | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การใช้แมลงโดยเฉพาะกลุ่มแมลงวันหัวเขียวมาใช้ประเมินระยะเวลาหลังการตาย (PMImin) ในการชันสูตรศพในการสืบสวนสอบสวนเริ่มขึ้นตั้งแต่ศตวรรษ ที่ 13 ในประเทศไทยมีการใช้ข้อมูล การเจริญของแมลงมาใช้ในการประเมินระยะเวลาการตายน้อยมากเนื่องจากขาดข้อมูล คณะผู้วิจัยได้ ศึกษาผลของ อุณหภูมิคงที่ค่าต่าง ๆ ร ะหว่าง 15-40± 2˚C ต่ออัตราการเจ ริญเติบโต (developmental rate) ระยะเวลาการเจริญเติบโต (developmental time) และพัฒนาการของ อวัยวะ ของแมลงวันหัวเขียวที่มีบทบาทสำคัญทางนิติกีฏวิทยาสองชนิดหลักของประเทศไทย คือ แมลงวันหัวเขียว Ch. megacephala และ Ch. rufifacies โดยวัดระยะเวลาตั้งแต่เข้าดักแด้ (pupariation) จนฟักออกเป็นตัวเต็มวัย (eclosion) ความกว้าง ความยาวและน้าหนักของดักแด้ ทุก 8 ชั่วโมง พบว่าค่าเฉลี่ยความยาวเมื่อแรกเริ่มของการเข้าสู่ระยะดักแด้จนถึงระยะก่อนฟักออกมาเป็น ตัวเต็มวัยของ Ch. megacephala ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F29=1.27, P=0.2640) อย่างไรก็ตามความกว้างของดักแด้ระยะแรกและสุดท้ายที่อุณหภูมิ 25±2˚C มีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F29=2.95, P=0.0030) น้าหนักเฉลี่ยของดักแด้เมื่อแรกเริ่มของ การเข้าสู่ระยะดักแด้ไปสู่ระยะก่อนฟักออกเป็นตัวเต็มวัย ที่ทุกอุณหภูมิ 15±2˚C 25±2˚C 30±2˚C 33±2˚C และ 35±2˚C ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F29=0.76, P=0.733; F29=0.22, P=0.927; F29=3.93, P=0.0001; F29=0.95, P=0.4880; F29=1.08, P=0.3820) ระยะเวลาการเจริญเติบโตของดักแด้แมลงวันหัวเขียว Ch. megacephala ตัวหนอนระยะ post feeding larvae มีการเจริญเข้าสู่ระยะดักแด้สู่ระยะตัวเต็มวัยทั้งหมดใช้ระยะเวลาน้อยที่สุดคือ 72 ชั่วโมงที่อุณหภูมิ 35±2˚C และใช้ระยะเวลามากที่สุดคือ 408 ชั่วโมงที่อุณหภูมิ 15±2˚C ในขณะที่ ระยะเวลาการเจริญเติบโตของดักแด้ Ch. rufifacies ใช้เวลาน้อยที่สุดที่ 36±2˚C โดยใช้เวลา 115 ชั่วโมง และใช้ระยะเวลามากที่สุดคือ 314 ชั่วโมงที่อุณหภูมิ 15±2˚C พบแมลงวันหัวเขียวที่กระจาย อยู่ทั่วประเทศไทย จำนวน 25 ชนิด (จากการวิเคราะห์ตัวอย่าง 329 ตัวอย่าง) ได้แก่ Chrysomya rufifacies, Ch. megacephala, Ch. putonia, Ch. pacifica, Ch. rufifacies CR11, Ch. rufifacies voucher, Ch. megacephala CM11, Ch. megacephala isolate 2, Ch. megacephala PUMB 2016-151-11, Luciria ceracata, Phormia regina Meigen, Ch. bezzinia, Ch. saffrania, Ch. albiceps เป็นต้น ชนิดที่พบมากที่สุดของประเทศไทยได้แก่ Ch. rufifacies และ Ch. megacephala ซึ่งเป็นแมลงวันหัวเขียวกลุ่มแรกที่เข้ามาตอมและวางไข่ที่ ศพ ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปใช้ในการคำนวณ PMI หรือระยะเวลาหลังการตายได้ อย่างแม่นยำ ถ้าหากได้มีการบันทึกค่าอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมที่พบศพ ได้อย่างเที่ยงตรง ควบคุมกับการ จำแนกชนิด (species) ของแมลงวันหัวเขียวได้ถูกต้องแม่นยำ ข้อมูลการศึกษาครั้งนี้ถือว่ามีประโยชน์ อย่างมากในงานสืบสวนสอบสวนหรือทางนิติวิทยาศาสตร์ ของประเทศไทย" | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | แมลงวันหัวเขียว | th_TH |
dc.subject | แมลงวันหัวเขียว - - การเจริญเติบโต | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | การสร้างสมการเส้นตรงจากข้อมูลการเจริญของแมลงวันหัวเขียว (Diptera: Calliphoridae) ที่มีบทบาทสำคัญทางนิติเวชในประเทศไทยเพื่อคำนวณ ระยะเวลาหลังการตาย | th_TH |
dc.title.alternative | A Linear Model for Calculating Post-Mortem Intervals Using Developmental Data for Forensically Important Blow Files (Diptera: Calliphoridae) in Thailand | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | guntima@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | martinhusemann@yahoo.de | th_TH |
dc.year | 2559 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The use of insects especially blowflies to estimate minimum postmortem interval (PMImin) in crime scene investigation have been reported since 13th century. We investigated the effect of constant temperature range from 15-40ºC on developmental times, developmental rates, the length, the width and weight of pupae from pupariation to eclosion every 8 hours of two main important forensically blowflies in Thailand, Chrysomya rufifacies and Ch. megacephala. Moreover, species identification of blowflies collected from nine different regions of Thailand was identified using molecular identification; nucleotide sequencings were blasted using NCBI compared to that of BOLD systems. The finding showed that the length, the width and weight of pupae of Ch. megacephala after kept at 15-40±2ºC were not significant different (F29=1.27, P=0.2640). Interestingly, the length, the width and weight of pupae of Ch. rufifacies showed a similar trend to those of Ch. megacephala (F29=0.76, P=0.733). However, the width of pupae of both blowfly species kept at 25±2˚C was statistically different from those of 35±2˚C (F29=2.95, P=0.0030). The developmental times and developmental rates of pupal stage of both Ch. megacephala and Ch. rufifacies were statistically different at the different constant temperatures from 15-40±2ºC (F29=1.342, P=0.0001; F29=5.52, P=0.0001). Therefore, the weight of pupae kept at 15±2˚C, 25±2˚C, 30±2˚C, 33±2˚C และ 35±2˚C were not significant (F29=0.76, P=0.733; F29=0.22, P=0.927; F29=3.93, P=0.0001; F29=0.95, P=0.4880) และ (F29=1.08, P=0.3820). The developmental time from post feeding larvae to eclosion was shortest when kept at 35±2˚C, they were 72 and 115 hours for Ch. megacephala and Ch. rufifacies, respectively, while it was longest when kept at 15±2˚C which were 408 and 314 hours for Ch. megacephala and Ch. rufifacies, respectively. No eclosion was found in both blowfly species at 39- 40±2˚C. Therefore, the investigation of blowfly species collected from nine different regions of Thailand of 329 samples using PCR, nucleotide sequencing showed 15 blowfly species which were Chrysomya rufifacies, Ch. megacephala, Ch. rufifacies voucher CR11, Chrysomya rufifacies CR12, Chrysomya rufifacies voucher AR32-4, Ch. megacephala isolated 2, Ch. megacephala strain 281, Chrysomya megacephala PUMB 2016-151-11, Ch. megacephala CM11, Ch. pacifica, Ch. potonia, Ch. saffranea, Ch. bezziana, Ch. albiceps, Luciria, sericata. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2564_195.pdf | 6.32 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น