กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4025
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุกัญญา บูรณเดชาชัย | |
dc.contributor.author | ปริญญา สิริอัตตะกุล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-04-09T02:58:12Z | |
dc.date.available | 2021-04-09T02:58:12Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4025 | |
dc.description | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างนวัตกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพร้อม ของเยาวชนในภาคตะวันออกในการเป็นประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2) ให้ความรู้ภาษาอังกฤษ สําหรับเตรียมความพร้อมของเยาวชนในภาคตะวันออกในการเป็นประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และ 3) สร้างนักข่าวพลเมืองที่มีความรู้ภาษาอังกฤษสําหรับการเป็นประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มตัวอย่างหลัก คือ เยาวชนใน ภาคตะวันออก รวม 700 คน 2) กลุ่มตัวอย่างรอง คือ นักข่าวพลเมืองในภาคตะวันออก ซึ่งประกอบด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ปราจีนบุรี และสระแก้ว จังหวัดละ 10 คน รวม 70 คน ใช้การสุ่มแบบเจาะจง (purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบภาษาอังกฤษในการเป็นประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้จํานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจ ภาษาอังกฤษก่อนและหลังการให้ความรู้ภาษาอังกฤษสําหรับการเป็นประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนด้วยการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยสถิติที (Paired-samples t-test) ผลการวิจัย พบว่า เยาวชนในภาคตะวันออกที่เข้าร่วมอบรมมีคะแนนความรู้ก่อน และหลังการเข้า ร่วมอบรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยที่หลังการอบรมเยาวชนในภาคตะวันออกมี ความรู้ทางภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น และนักข่าวพลเมืองในภาคตะวันออกที่เข้าร่วมอบรมมีคะแนนความรู้ก่อน และหลังการฝึกอบรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยคะแนนหลังการฝึกอบรมมากกว่าคะแนนก่อนการฝึกอบรม แสดงให้เห็นว่าการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “ความรู้ภาษาอังกฤษสําหรับการเป็นนักข่าวพลเมืองประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ทําให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับภาษาอังกฤษ สําหรับการเป็นนักข่าวพลเมืองประเทศประชาคมอาเซียนเพิ่มมากขึ้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.subject | เยาวชน -- ไทย (ภาคตะวันออก) | th_TH |
dc.subject | สาขาปรัชญา | th_TH |
dc.title | กระบวนการสร้างนวัตกรรมการสื่อสารเพื่อเตรียมความพร้อมด้านภาษาอังกฤษของเยาวชนในภาคตะวันออกในการเป็นประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน | th_TH |
dc.title.alternative | Process of creatation in innovation communication for preparing English language of youth in Asean Economic Community | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2561 | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2564_187.pdf | 30.18 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น