กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3996
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | กล่าวขวัญ ศรีสุข | |
dc.contributor.author | เอกรัฐ ศรีสุข | |
dc.contributor.author | ณัฏฐกานติ์ จิรัณธนัฐ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2020-12-29T06:41:27Z | |
dc.date.available | 2020-12-29T06:41:27Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3996 | |
dc.description | โครงกาวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | เร่วหอม (Etlingera paviana) เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae เป็นพืชท้องถิ่นในภาคตะวันออกของไทย มีการรายงานฤทธิ์ต้านการอักเสบของเหง้าเร่วหอมในเซลล์แมคโครฟาจ เซลล์เยื่อบุหลอดเลือด และในสัตว์ทดลอง แต่ยังไม่ทราบถึงผลของเร่วหอมต่อการอักเสบในเซลล์ของระบบประสาท ดังนั้นในการวิจัยนี้ทาการตรวจสอบฤทธิ์ต้านการอักเสบของส่วนสกัดเอทานอลจากเหง้าเร่วหอม (EPE) และสาร 4-methoxycinnamyl p-coumarate (MCC) ที่ถูกแยกจากเหง้าเร่วหอม โดยทดสอบฤทธิ์ยับยั้งการผลิต ไนตริกออกไซด์ และ PGE2 ในเซลล์ไมโครเกลีย BV2 ที่ถูกกระตุ้นด้วยไลโพพอลิแซกคาร์ไรด์ (LPS) ทดสอบความเป็นพิษของส่วนสกัดจากเร่วหอม และสาร MCC โดยวิธี MTT assay ส่วนสกัดจากเร่วหอมที่ความเข้มข้น 6.25-200 g/mL และสาร MCC ที่ความเข้มข้น 6.25-50 M โไม่แสดงความเป็นพิษต่อเซลล์ ทั้งในสภาวะที่มี LPS และไม่มี LPS ส่วนสกัดเร่วหอมที่ที่ความเข้มข้น 6.25-100 g/mL และสาร MCC ที่ความเข้มข้น 3.125-25 M สามารถลดการผลิตไนตริกออกไซด์และ PGE2 ได้ในลักษณะที่ขึ้นกับความเข้มข้น ส่วนสกัดจากเร่วหอมยับยั้งการแสดงออกของ iNOS และ COX-2 ในระดับโปรตีนและ mRNAในลักษณะที่ขึ้นกับความเข้มข้น ในขณะที่สาร MCC ยับยั้งการแสดงออกของ iNOS ในระดับโปรตีน แต่ไม่ยับยั้ง COX-2 สาร นอกจากนี้ MCC ยังยับยั้งการกระตุ้นวิถี NF-B โดยลดการฟอสโฟรีเลชันของ IB และ NF-B p65 รวมทั้งการเคลื่อนที่เข้าสู่นิวเคลียสของ NF-B p65 ผลการทดลองของเราแสดงให้เห็นว่าส่วนสกัดจากเร่วหอม และสาร MCC มีฤทธิ์ต้านการอักเสบในเซลล์ไมโครเกลีย BV2 โดยอย่างน้อยผ่านการยับยั้งสารสื่อกลางการอักเสบ เอนไซม์ iNOS และ COX-2 ซึ่งเป็นผลจากการยับยั้งวิถี NF-KB ดังนั้นส่วนสกัดเอทานอลจากเหง้าเร่วหอม (EPE) และสาร MCC นี้มีศักยภาพในการนาไปพัฒนาเป็นองค์ประกอบของอาหารฟังก์ชัน หรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่สามารถป้องกันโรคที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบ รวมทั้งภาวะความเสื่อมของสมองหรือระบบประสาท | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | เร่วหอม | th_TH |
dc.subject | โรคความเสื่อมของระบบประสาท | th_TH |
dc.subject | การรักษาด้วยสมุนไพร | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช | th_TH |
dc.title | ฤทธิ์ต้านอักเสบในเซลล์ไมโครเกลียของส่วนสกัดเร่วหอมและสาร 4- methoxycinnamyl 4-coumarate เพื่อใช้พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพสาหรับต้านกลุ่มโรคความเสื่อมของระบบประสาท | th_TH |
dc.title.alternative | Anti-inflammatory activity of Etlingera pavieana extract and its compound 4-methoxycinnamyl 4-coumarate on microglia cells for development as health care products against neurodegenerative diseases | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | klaokwan@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | ekaruth@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | cnatthak@gmail.com | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Etlingera paviana, a plant in the family Zingiberaceae, is an endemic plant in the eastern part of Thailand. E. pavieana rhizome have been reported anti-inflammatory activities in macrophage cells, endothelial cells, and in animal model. However, its anti- neuroinflammatory effect remains unknown. Therefore, in this study, the anti-inflammatory activity of ethanol extract from E. pavieana rhizome (EPE) and 4-methoxycinnamyl p-coumarate (MCC), isolated from E. pavieana rhizome was investigated by inhibitory activity on the production of nitric oxide and PGE2 in lipopolysaccharide (LPS)- activated BV2 microglea cells. Cytotoxicity of EPE and MCC were examined by MTT assay. EPE (6.25-200 g/mL) and MCC (6.25-50 M) did not show significant cytotoxic effect in the presence and absence of LPS. EPE at 6.25-100 μg / mL and MCC at concentrations of 3.125-25 μM were able to reduce the production of nitric oxide and PGE2 in a concentration-dependent manner. EPE inhibited the expression of iNOS and COX-2 at the protein and mRNA level in a concentration-dependent manner while MCC inhibits iNOS expression at the protein level but not COX-2 expression. Moreover, MCC inhibited NF-B activation by reducing phosphorylation of IB and NF-B p65 as well as nuclear translocation of NF-B. Our results show that E. pavieana rhizome extract and MCC exert anti-inflammatory activity in BV2 microglobias cells, at least in part, by inhibiting inflammatory mediators, as well as enzymes iNOS and COX-2, mediated via inactivation of NF-B signaling pathway. Therefore, the ethanol extract from the E. pavieana rhizome (EPE) and MCC have the potential to be used as a functional food ingredient and dietary supplements that can prevent inflammation-related diseases including neurodegenerative diseases | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2564_144.pdf | 1.54 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น