กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3987
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิชญา กันบัว
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2020-12-21T02:51:09Z
dc.date.available2020-12-21T02:51:09Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3987
dc.descriptionโครงการวิจัยประเภทงบประมาณรายได้ (เงินอุดหนุนรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาโครงสร้างประชาคมของแมงกะพรุนบริเวณหาดวอนนภาและหาด บางแสน จังหวัดชลบุรี โดยเก็บตัวอย่างในช่วงเดือนมีนาคม 2562 ถึงกุมภาพันธ์ 2563 ทุกเดือน รวมทั้งสิ้น 12 ครั้ง ทำการเก็บตัวอย่างด้วยการวางอวนลอยขนาดช่องตา 3 นิ้ว จำนวน 3 ผืน ผืนละ 350 เมตรรวมระยะทางทั้งสิ้น 1 กิโลเมตรต่อจุด ผลการศึกษาพบแมงกะพรุนทั้งหมด 4 ชนิด ได้แก่ แมงกะพรุนหนัง (Rhopilema hispidum) ขนาดความยาวขอบร่มมีค่าเฉลี่ย 32.00 เซนติเมตร น้ำหนักมีค่าเฉลี่ย 5.55 กิโลกรัม แมงกะพรุนลอดช่อง (Lobonema smithii) ขนาดความยาวขอบร่มมีค่าเฉลี่ย 21.75 เซนติเมตร น้ำหนักมีค่าเฉลี่ย 3.03 กิโลกรัม แมงกะพรุนจุดขาว (Phyllorhiza punctata) ขนาดความยาวขอบร่มมีค่าเฉลี่ย 17.50 เซนติเมตร น้ำหนักมีค่าเฉลี่ย 0.23 กิโลกรัมและแมงกะพรุนไฟ (Pelagia panopyra) ขนาดความยาวขอบร่มมีค่าเฉลี่ย 9.13 เซนติเมตร โดยพบแมงกะพรุนหนังเป็นกลุ่มเด่น ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำ ณ บริเวณจุดเก็บตัวอย่าง พบค่าความเค็มมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 31.00 พีเอสยู (psu) อุณหภูมิมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 28.67 องศาเซลเซียส ความเป็นกรด-ด่างมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.30 และค่าออกซิเจนละลายน้ำมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.17 มิลลิกรัมต่อลิตร ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของแมงกะพรุนบริเวณหาดวอนนภาและหาดบางแสนคือ ความเค็มth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectแมงกะพรุนth_TH
dc.subjectแมงกะพรุน -- พิษth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการสำรวจและจำแนกชนิดของแมงกะพรุนในบริเวณชายฝั่งทะเล จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeA survey and identification of jellyfish in coastal area, Chonburi provinceen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailvichaya@buu.ac.thth_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to investigate Community structure of jellyfish at Wonnapa Beach and Bangsean Beach, Chonburi Province from March 2019 to February 2020 every month a total of 12 times. Samples were collected by placing a 3-inch floating mesh in the amount of 3 pieces of 350 meters each. Total distance is 1 kilometer per point. The results showed 4 types of jellyfish include Edible jellyfish (Rhopilema hispidum) the average length of the umbrella edge is 32.00 cm. The weight is average 5.55 kg, White jellyfish (Lobonema smithii) the average length of the umbrella edge is 21.75 cm. The weight is average 3.03 kg, (Phyllorhiza punctata) the average length of the umbrella edge is 17.50 cm. The weight is average 0.23 kg and Fire jellyfish (Pelagia panopyra) the average length of the umbrella edge is 9.13 cm. Discovering the Edible jellyfish as a prominent group Water quality measurement results at the sampling area. Found that the salinity values were equal to 31.00 psu. The average temperature is 28.67 degrees Celsius. The average pH is 8.30 and the dissolved oxygen value is 7.17 milligrams per liter. Factors influencing the change of jellyfish structure in Wonnapa beach and Bangsaen beach are salinity.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_145.pdf1.62 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น