กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3982
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวารี กังใจ-
dc.contributor.authorรัชนีภรณ์ ทรัพย์กรานนท์-
dc.contributor.authorชมนาด สุ่มเงิน-
dc.contributor.authorภาณุวัฒน์ ด่านกลาง-
dc.date.accessioned2020-11-27T02:22:42Z-
dc.date.available2020-11-27T02:22:42Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3982-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพของพระสงฆ์สูงอายุ ดำเนินการวิจัยในเขตคณะสงฆ์ตำบลและวัดที่คัดสรรในเขตจังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างได้แก่ พระสงฆ์สูงอายุ พระสงฆ์ ประชาชน และบุคลากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 100 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และแบบวัดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น จำนวน 5 ชุดที่มีคุณภาพในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพของพระสงฆ์สูงอายุ เป็นรูปแบบการดูแลแบบองค์รวม ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ 1) กำหนดแผนสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพพระสงฆ์สูงอายุ 2) การพัฒนาความรู้และทักษะในการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพพระสงฆ์สูงอายุ 3) ดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพพระสงฆ์สูงอายุอย่างต่อเนื่องในเชิงรุก 4) มีคณะทางานการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพ พระสงฆ์สูงอายุแบบบูรณาการ และ 5) พัฒนา พระอาสาสมัครสาธารณสุขประจำวัด จากผลการวิจัยเสนอแนะว่า วัดควรมีการนำรูปแบบการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพ ของพระสงฆ์สูงอายุ ที่ได้จากการวิจัยไปใช้ในการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพของพระสงฆ์สูงอายุ และควรมีการนำไปประยุกต์ใช้ในวัดที่อยู่พื้นที่อื่น ๆth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557th_TH
dc.language.isoen_USth_TH
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพของพระสงฆ์สูงอายุth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of Health Behavior Promoting Model Among the Elder Monksth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailwareek@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailratchana@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailpanuwat@buu.ac.thth_TH
dc.year2557th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research employed the research and development design which aimed to develop the appropriate model for health promotion in the elder monks. It was conducted on 100 samples of elder monks, monks, community dweller, and involving personal who stayed in selected Sangha communities and temples in Chon Buri province. Data were collected by 5 valid and reliable instruments, consisting of interviews and measurements which were developed by the researcher. The data were analyzed by descriptive statistics. The study found the model for health promotion in the elder monks was the holistic care model which contained 5 elements; 1) planning the health promotion plans for the elder monks, 2) improving knowledge and skills for health promotion in the elder monks, 3) implementing the proactive and continuous health promotion in the elder monks, 4) having working committee who were responsible for integrated health promotion in the elder monks, and 5) developing monks to be temple public health volunteers. The findings suggested the model for health promotion in the elder monks in this research should be applied to promote health behaviors in the elder monks. It also should be applied to promote health behaviors in the elder monks in other areas.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_134.pdf1.97 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น