กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3980
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorณัฎฐิณี ธีรกุลกิตติพงศ์
dc.contributor.authorยุทธภูมิ มีประดิษฐ์
dc.contributor.authorสุธาบดี ม่วงมี
dc.contributor.authorภักดี สุขพรสวรรค์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะเภสัชศาสตร์
dc.date.accessioned2020-11-09T05:56:42Z
dc.date.available2020-11-09T05:56:42Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3980
dc.descriptionงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558th_TH
dc.description.abstractปัจจุบันประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และผู้ป่วยในกลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มนี้มักมีโรคเรื้อรังหลายโรคร่วมกัน ซึ่งพบว่ามีการใช้ยาในการรักษาหลายชนิด จำนวนยาที่ใช้ที่มากขึ้นสัมพันธ์กับอายุที่มากขึ้น สิ่งที่ตามมาคือผลไม่พึงประสงค์จากยา ปฏิกิริยาระหว่างยา รวมถึงค่าใช้จ่ายในการรักษาสูงขึ้น จากปัญหาดังกล่าวทางผู้วิจัยจึงมีจุดประสงค์ในการพัฒนาเครื่องมือในการศึกษาความสัมพันธ์ของพื้นที่และพฤติกรรมการใช้ยาในผู้สูงอายุเพื่อช่วยในการเลือกใช้ยาให้เหมาะสมในผู้สูงอายุ เข้าใจวิธีการใช้ยาในผู้สูงอายุ ทราบระบาดวิทยาของผู้สูงอายุเขตพื้นที่ชายฝั่งภาคตะวันออกเพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้ของการใช้ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ระบบเทคโนโลยี (GIS) ให้ได้ประโยชน์สูงสุดจากการใช้ยาและลดผลไม่พึงประสงค์จากยา สำหรับภาคตะวันออก จังหวัดชลบุรีเป็นจังหวัดใหญ่ที่มีจำนวนผู้สูงอายุพักอาศัยเป็นจำนวนมากโดยทางผู้วิจัยได้ใช้จังหวัดชลบุรีเป็นโมเดลในการสำรวจข้อมูลจาก 3 ตำบล ได้แก่ ตำบลแสนสุข ตำบลอ่างศิลา และตำบลเหมือง เก็บข้อมูลจากผู้ป่วยสูงอายุจำนวน 150 คนที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและหรือโรคเบาหวาน พบว่าจากการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูล 4 ประเภท (1) ข้อมูลส่วนตัวของอาสาสมัคร ประกอบด้วย เพศ อายุ จำนวนพี่น้อง สถานภาพสมรส การศึกษา อาชีพ ศาสนา สิทธิการรักษา ที่อยู่และพิกัด GPS ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกันในเชิงพื้นที่ทั้งสามตำบล ยกเว้นแต่สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ และ สิทธิการรักษาพยาบาล กับพื้นที่สองตำบลคือตำบลแสนสุข และตำบลอ่างศิลา (p < 0.05) สำหรับ (2) ข้อมูลทั่วไปสำหรับการคัดกรองอาสาสมัคร ประกอบด้วย 2 ประเภทการตรวจร่างกาย (2.1) การตรวจร่างกายทั่วไป ได้แก่ ส่วนสูง รอบเอว ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกันในเชิงพื้นที่ทั้งสามตำบล ยกเว้นน้ำหนักตัวเฉลี่ยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) (2.2) การตรวจวัดค่าความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด (Postprandial Blood Sugar) มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) เมื่อเปรียบเทียบกันในเชิงพื้นที่ทั้งสามตำบล และ (3) ข้อมูลสุขภาพของอาสาสมัคร ได้แก่ โรคประจำตัว การสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ น้ำอัดลม น้ำหวาน เครื่องดื่มชูกำลัง ความชอบรับประทานอาหารรสจืด หวาน เปรี้ยว เค็ม เผ็ด และมัน การดูแลรักษาตัวเองเมื่อเจ็บป่วยเล็กน้อย ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกันในเชิงพื้นที่ทั้งสามตำบล ยกเว้นประวัติเจ็บป่วยด้วยโรคของบิดา มารดา และพี่น้องสายตรง การดื่มชา กาแฟ การออกกำลังกาย มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) (4) ข้อมูลการใช้ยาของอาสาสมัคร เพื่อเก็บข้อมูลของชื่อยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ขนาดความแรงของยา ข้อบ่งใช้ วิธีรับประทาน/ ใช้ยา วันที่เริ่มใช้ยา วันที่หยุดใช้ยา และประวัติการแพ้ยา/ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกันในเชิงพื้นที่ทั้งสามตำบล ยกเว้น ข้อมูลการเป็นโรคไม่ติดต่อชนิดเรื้อรังที่เกิดในผู้สูงอายุ การใช้ยาเพื่อควบคุมโรคความดันโลหิตสูง และหรือการใช้ยาเพื่อควบคุมโรคเบาหวาน โดยเฉพาะการได้รับยาแบบ Fixed combination drug มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) การสำรวจข้อมูลทุกประเภทร่วมกับเก็บข้อมูลในการใช้ยาของผู้สูงอายุ เพื่อนำมาวิเคราะห์ปัญหาการใช้ยา การกระจายตัวของยาที่ใช้ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาหลักของผู้สูงอายุในประเทศไทยการระบาดของโรคในพื้นที่สำรวจเพื่อดูความชุกของโรค นำมาสร้างฐานข้อมูลด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ชายฝั่งภาคตะวันออกของไทย ทั้งนี้ข้อมูลที่ได้มาเพื่อชี้ให้เห็นเขตพื้นที่ใดที่มีความเร่งด่วนที่ต้องเข้าไปส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนยาและพฤติกรรมของผู้ป่วยสูงอายุให้สามารถควบคุมอาการของโรคได้ดีขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการจัดการฐานข้อมูลth_TH
dc.subjectโรคไม่ติดต่อเรื้อรังth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.titleการสร้างรูปแบบการจัดการฐานข้อมูลและแผนที่ภูมิศาสตร์สนเทศทางการใช้ยาเพื่อดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ชุมชนชายทะเลภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeManagement of non-chronic drug utilization behavior of the adult elderly database model and utilization data for mapping geographic information in the eastern coastal areasen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailnuttinee@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailyutthapoom@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailsuthabordee@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailphakdee@go.buu.ac.thth_TH
dc.year2561th_TH
dc.description.abstractalternativeThailand is entering the social age and elderly people often have various combination of multiple chronic diseases. It has been found that many drugs are used in treatment and the number of drugs used is related to age. Therefore, the follows is an adverse effect of the drug, drug interactions and costly of treatment. Based on this problem, the researcher aims to develop a tool to study the relationship of the area and drug use behavior among the elderly to help in selecting the appropriate drugs in the elderly, understand how to use drugs in the elderly and epidemiological study of the elderly in the Eastern Seaboard area for investigating the feasibility of using geographic information system (GIS) technology to maximize benefit from drug use and to reduce adverse drug effects. Chonburi is a large province with a large number of elderly people living in. The researcher used Chonburi as a model for surveying data from three sub-districts: Saensuk, Ang Sila and Mueang. Data from 150 elderly patients with hypertension and / or diabetes were collected from data collection. It contains 4 categories as follows (1) The personal information of the elderly volunteers consists of gender, age, number of brothers, marital status, education, occupation, religion, health care scheme, GPS coordinates and addresses were not statistically significant. Except for marital status Education and career between Sansuk and Ang Sila were statistically significant (p <0.05). (2) General information for patients screening consists of two types of physical examination: (2.1) General physical examination including height, waist circumference and BMI were not statistically significant differences when compared to the three areas only average weight was statistically significant (p <0.05). (2.2) Blood Pressure and Postprandial blood sugar level were statistically significant (p <0.05) different in all three areas, and (3) health information, including genetic associated with chronic diseases, smoking, alcohol, soft drink and taste were no statistically significant differences. Excluding the history of sickness with the disease of parents and siblings, Drinking tea and coffee, exercise behavior were statistically significant differences (p <0.05). (4) Drug Information of the patients including how to use medicines and health products, indication, potency, date of administration and withdrawal, allergy history were no statistically significant differences in the three spatial areas, except for the chronic non-communicable disease incidence in the elderly and medication use to control high blood pressure and diabetes, especially, the fixed combination drugs were statistically significantly different (p <0.05). All types of survey data were collected with the elderly patients for analyzing the problem of drug use and detecting the distribution of non-communicable disease as a major problem for older people in Thailand. The health database of the elderly in the eastern coast of Thailand provided the information to indicate which areas are urgently needed to promote health and adapt the medication and behavior of elderly patients to better control the disease.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_126.pdf2.55 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น