กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3977
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorภักดี สุขพรสวรรค์-
dc.contributor.authorสมชาติ โชคชัยธรรม-
dc.contributor.authorวัชรพงษ์ แจ่มสว่าง-
dc.contributor.authorอุรีรัฐ สุขสวัสดิ์ชน-
dc.date.accessioned2020-10-14T03:12:55Z-
dc.date.available2020-10-14T03:12:55Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3977-
dc.descriptionโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เลขที่สัญญา 61/2561th_TH
dc.description.abstractการจำลองภาพยาสามมิติในปัจจุบันเพื่อการศึกษาการเคลือบยาที่ได้จากผลิตยาปฏิบัติการโดย การพัฒนาวิธีการ 2 มิติ ให้เป็นเทคโนโลยีภาพ 3 มิติ การนำเสนอข้อมูลยาออกมาเป็นกราฟิก 3 มิติ เห็นได้ว่าบทบาทของคอมพิวเตอร์กราฟิกในระบบสนับสนุนการตัดสินใจการใช้ยา ผลการศึกษารายละเอียดโครงสร้างทางกายภาพชั้นเคลือบยา อาศัยเทคนิคการตอบสนองของยาด้วยแสง UV-A งานวิจัยนี้ได้นำเสนอขั้นตอนวิธีการสร้างโมเดลเม็ดยา 3 มิติจากภาพถ่าย 2 มิติหลายถาพ จากการดำเนินการผลิตยา diclofenac sodium เคลือบฟิล์มต้นแบบด้วย พอลิเมอร์ชนิด Hydroxypropylmethyl cellulose ไม่เติมสีโดยการผลิตยาตัวอย่างจำนวน 7 กลุ่ม การวิเคราะห์พื้นผิวของยาที่เคลือบบนยา diclofenac sodium จากห้องปฎบัติการตั้งแต่ไม่เคลือบ จนทำการเคลือบ 60 นาที โดยเก็บตัวอย่างเม็ดยาทุก ๆ 10 นาที สังเกตได้ว่าการเคลือบผิวยาที่ 40 นาทีตอบสนองการการสะท้อน UV-A ได้ดีที่สุด การสร้างพื้นผิวให้กับโมเดลสร้างสร้างจำลองเม็ดยา 3 มิตินำใช้ประโยชน์ด้านเภสัชอุตสาหกรรมรมการผลิตยา การศึกษารูปร่าง ขนาดเม็ดยาเสมือนจริง ก็สามารถจำลองการผลิตและแสดงผลได้เสมือนจริงth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการประมวลผลภาพ - - เทคนิคดิจิตอลth_TH
dc.subjectยาth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleประมวลสัญญาณภาพดิจิตอล 3 มิติ แบบเสมือนจริงเพื่อการพิสูจน์เอกลักษณ์ของยารูปแบบเม็ดยาต้นแบบที่ได้จากห้องปฏิบัติการผลิตยาth_TH
dc.title.alternativeDigital image processing virtual image 3 dimension for model drug laboratory identificationth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailphakdee@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailcsomchar@engr.tu.ac.thth_TH
dc.author.emailwatcharaphong@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailureerat.w@gmail.comth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeThree-dimensional simulation of medicine for medicine coatings produced by the laboratory with development of 2D methods into 3D imaging technology. The presentation of drug information in 3D graphics shows the computer graphics in medicine support systems. The study results of the physical structure of the medicine layer based on the texture response technique with UV-A light, this research proposes an algorithm to create a 3D tablet model from multiple 2D images from the production of diclofenac sodium film coated with the original film. Polymer type Hydroxypropylmethyl cellulose does not add color, producing sample drugs 7 groups. Surface analysis of drugs coated on diclofenac sodium from the laboratory since no coating. Until the coating is 60 minutes by collecting the tablet sample every 10 minutes. The coating conclusion of medicine at 40 minutes responds to the UV-A the best reflection. 3D brings benefits to the pharmaceutical industry, pharmaceutical production Shape study Virtual tablet size Able to simulate the production and display the resultth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_108.pdf4.14 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น