กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3973
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ศิริเดช บุญแสง | |
dc.contributor.author | คมกฤษ จักษุคำ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2020-10-05T03:48:12Z | |
dc.date.available | 2020-10-05T03:48:12Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3973 | |
dc.description | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินทุนอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สัญญาเลขที่ 51.4/2562 | th_TH |
dc.description.abstract | โครงงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอการออกแบบและพัฒนาเครื่องผลิตคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส ระบบกึ่งอัตโนมัติ โดยการสังเคราะห์คาร์บอกซี่เมทิลเซลลูโลสจากเปลือกทุเรียนโดยอาศัยปฏิกิริยาทางเคมี ได้แก่ อัลคาไลเซชัน และอีเทอริฟิเคชัน ในกระบวนการผลิตมีการปรับพารามิเตอร์ต่าง ๆ ได้แก่ อุณหภูมิ ความเร็วรอบ การปั่นกวน เวลา ขนาดอนุภาคผงเปลือกทุเรียนแห้ง ความเข้มข้น และปริมาณสารเคมี เป็นต้น เพื่อให้กระบวนการดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด การทดสอบความสามารถในการผลิตของเครื่องต้นแบบสำหรับผลิตคาร์บอกซี่เมทิลเซลลูโลสจากเปลือกทุเรียน พบว่าผลิตภัณฑ์คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสที่ได้มีค่าเท่ากับร้อยละ 50 โดยน้ำหนักของผงเปลือกทุเรียนแห้ง ดังนั้นกระบวนการสังเคราะห์คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส และเครื่องต้นแบบสำหรับผลิตคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสจากเปลือกทุเรียนแบบกึ่งอัตโนมัติ ที่เป็นผลผลิตจากงานวิจัยนี้จึงเป็นแนวทางที่จะนำไปพัฒนาต่อยอดให้เป็นกระบวนการในระดับอุตสาหกรรมต่อไปได้ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร (เปลือกทุเรียน) ช่วยให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | เครื่องจักรกลการเกษตร | th_TH |
dc.subject | สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย | th_TH |
dc.title | อุปกรณ์ต้นแบบระดับอุตสาหกรรมเพื่อการสังเคราะห์คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส | th_TH |
dc.title.alternative | Industrial Prototype for Carboxymethylcellulose Synthesis | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | kaewpiro@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | siridech@it.kmitl.ac.th | th_TH |
dc.author.email | jkomgrit@gmail.com | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research project aims to design and develope a semi-automation carboxymethyl cellulose manufacturing prototype machine. In process, carboxymethyl cellulose from durian rind was synthesized using two important chemical reactions, e.g. alkalization and etherification. Various parameters such as reaction temperature, reaction time, stirring speed, particle size of dried durian rind powder, as well as oncentration and amount of used chemicals were adjusted in order to obtain the highest manufacturing efficiency. With semi-automatic operation, the carboxymethyl cellulose manufacturing prototype machine showed a performance of 50% yield of carboxymethyl cellulose, with respect to dried durian rind powder. Therefore, the designed process and the semiautomation carboxymethyl cellulose manufacturing machine, developed in this present work, have shown their opportunity in industrial-scale development. Moreover, the results from this study have proven that agricultural waste (durian rind) can be turned from waste to wealth using our designed process and semi-automation carboxymethyl cellulose manufacturing machine | en |
dc.keyword | คาร์บอกซี่เมทิลเซลลูโลส | th_TH |
dc.keyword | เครื่องผลิตคาร์บอกซี่เมทิลเซลลูโลส | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2564_120.pdf | 7.06 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น