กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3971
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อนันต์ อธิพรชัย | |
dc.contributor.author | วราคณา จุ้งลก | |
dc.contributor.author | สุวรรณา เสมศรี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2020-10-02T02:17:28Z | |
dc.date.available | 2020-10-02T02:17:28Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3971 | |
dc.description | งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 รหัสโครงการ 60337 เลขที่สัญญา 47/2562 | th_TH |
dc.description.abstract | แค (Sesbania grandiflora) เป็นพืชที่นิยมนำมาประกอบอาหารจัดอยู่ในวงศ์ถั่วที่พบมากในประเทศ ไทยและมีการใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางทางด้านเภสัชวิทยาและตามตำราแพทย์แผนไทย โดยใช้ส่วนต่าง ๆ ของแคในการรักษาอาการปวดศีรษะ ไมเกรน รักษาอาการหวัด แก้ไข้ตัวร้อน ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ทำการศึกษาทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของแคสำหรับช่วยในการรักษาโรคอัลไซเมอร์ ซึ่งเป็นโรคที่สำคัญและพบมากในผู้สูงอายุ จากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีโดยใช้เทคนิคทางโครมาโทรกราฟี สามารถแยกสารบริสุทธิ์ได้ ทั้งหมด 4 สาร คือ Oleanolic acid (1), Stigmasterol (2), Stigmasterol 3-O--D-glucopyranoside (3) และ Elaeagnoside (4) โครงสร้างของสารบริสุทธิ์ที่แยกได้ทั้งหมดทำการวิเคราะห์และยืนยันโครงสร้างด้วยเทคนิคทางโครมาโทรกราฟี จากงานวิจัยนี้พบ Oleanolic acid (1) เป็นองค์ประกอบหลักในส่วนของดอกแคซึ่งจากรายงานต่าง ๆ พบว่าสาร Oleanolic acid (1) สามารถช่วยป้องกันการเกิดโรคอัลไซเมอร์ได้เป็นอย่างดี ดังนั้นการบริโภคดอกแคก็มีโอกาสที่อาจจะช่วยบรรเทาและป้องกันโรคอัลไซเมอร์ซึ่งเป็นโรคที่สำคัญและพบมากในผู้สูงอายุได้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | โรคอัลไซเมอร์ | th_TH |
dc.subject | แค | th_TH |
dc.subject | พยาธิวิทยา | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | การศึกษาทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของแคสำหรับการรักษาโรคอัลไซเมอร์ | th_TH |
dc.title.alternative | Chemical investigation and biological activities of Sesbania grandiflora for the treatments of Alzheimer's disease | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | anana@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | cwarang@wu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | ssemsri@yahoo.com | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Sesbania grandiflora belonging to family Leguminosae commomly known as Sesbania is often planted for its edible flowers and pods in Thailand and tropical countries. In Thai traditional medicine, S. grandiflora is used in treatment of headache, migraine and colds cure fever. Therefor, this work was studied to phytochemical and biological activities of S. grandiflora for the treatment of Alzheimer’s disease which is an important disease and more common in the elderly. The chemical investigation of S. grandiflora extracts using chromatographic techniques resulted in the isolation of four compounds including Oleanolic acid (1), Stigmasterol (2), Stigmasterol 3-O--D-glucopyranoside (3) and Elaeagnoside (4). All structures of the isolated pure compounds were elucidated on the basis of spectroscopic analysis. From our research found that Oleanolic acid (1) is the main constituent of S. grandiflora flower. According to various reports, the Oleanolic acid (1) can help prevent the occurrence of Alzheimer's disease as well. Therefore, the edible parts of S. grandiflora may have dietary and medicinal applications for the treatment of Alzheimer’s disease. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2564_117.pdf | 1.66 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น