กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3970
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอนันต์ อธิพรชัย
dc.contributor.authorสุรีย์พร หอมวิเศษวงศา
dc.contributor.authorสุวรรณา เสมศรี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2020-10-01T07:28:00Z
dc.date.available2020-10-01T07:28:00Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3970
dc.descriptionงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณ แผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เลขที่สัญญา 46.1/2562th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาและค้นหาสมุนไพรผักพื้นบ้านของไทยที่สามารถรับประทานได้สำหรับช่วยในการรักษาและป้องกันภาวะทางเภสัชวิทยาต่าง ๆ ของโรคเบาหวาน โดยทำการศึกษาหาองค์ประกอบทางเคมีการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์แอลฟา-กลูโคซิเดส และความเป็นพิษต่อเซลล์ของสารสกัดหยาบเมทานอลและเอทานอลของสมุนไพรผักพื้นบ้านของไทยที่สามารถรับประทาน จากการทดลองพบว่า สมุนไพรผักพื้นบ้าน 8 ชนิดมีปริมาณฟีนอลิกรวมสูงมากกว่า 1000 gGAE.g-1 คือผักแพว ตำลึงหวาน ขี้เหล็ก มะระขี้นก มะม่วงหิมพานต์ ผักติ้ว ผักมันปู และมะตูมแขก นอกจากนี้พบว่า ผักแพว มะม่วงหิมพานต์ ผักมันปู และมะตูมแขก แสดงฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์แอลฟา-กลูโคซิเดส และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระได้ดีมาก ดีกว่าผักพื้นบ้านชนิดอื่น ๆ รวมทั้งสารสกัดหยาบสมุนไพรผักพื้นบ้านของไทยที่สามารถรับประทานทุกชนิดที่นำมาศึกษาไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์อีกด้วย จากผลการศึกษาคาดว่า ผักแพว มะม่วงหิมพานต์ ผักมันปู และมะตูมแขก น่าจะสามารถที่จะนำไปพัฒนาต่อยอดเป็นยาหรือส่วนประกอบทางยาที่ใช้สำหรับการรักษา และป้องกันภาวะทางเภสัชวิทยาต่าง ๆ ของโรคเบาหวานได้th_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectโรคเบาหวานth_TH
dc.subjectสมุนไพรไทยth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleการค้นหาและพัฒนาสมุนไพรไทยสำหรับรักษาโรคเบาหวานth_TH
dc.title.alternativeDiscovery and development of Thai medicinal plants with potential antidiabetic activityen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailanana@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailsureeporn.h@gmail.comth_TH
dc.author.emailssemsri@yahoo.comth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research is to study and search for Thai local vegetables to help in the treatment and prevention of various pharmacological conditions of diabetes. By studying the chemical composition, antioxidant and anti-alpha-glucosidase activities together with cytotoxicity of methanol and ethanol extracts of Thai local vegetables. From the results it was found that eight Thai local vegetables including Persicaria odorata, Asystasia gangetica, Senna siamea, Momordica charantia, Anacardium occidentale, Cratoxylum formosum, Glochidion wallichianum and Schinus terebinthifolius showed the highest total phenolic content over 1000 gGAE.g-1. In addition, Persicaria odorata, Anacardium occidentale, Glochidion wallichianum and Schinus terebinthifolius showed the highest anti-alphaglucosidase and antioxidant activities. They also showed more active than other Thai local vegetables. Moreover, all Thai local vegetables showed no cytotoxic acitivity against Vero cells. Therefore, the Thai local vegetables especially Persicaria odorata, Anacardium occidentale, Glochidion wallichianum and Schinus terebinthifolius should be able to develop into drugs or pharmaceutical components used for the treatment and prevention of various pharmacological conditions of diabetes.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_111.pdf1.24 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น