กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3966
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อนันต์ อธิพรชัย | |
dc.contributor.author | สุวรรณา เสมศรี | |
dc.contributor.author | สุรีย์พร หอมวิเศษวงศา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2020-09-29T08:51:32Z | |
dc.date.available | 2020-09-29T08:51:32Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3966 | |
dc.description | งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณ แผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยบูรพา ผ่านสำนักงานคณะกรรมการการวิจัย แห่งชาติ รหัสโครงการ 60267 เลขที่สัญญา 46.3/2562 | th_TH |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาคุณสมบัติต้านการอักเสบและความเป็นพิษของสาร สกัดข่า (Alpinia galanga) และสารสกัดสมุนไพรในกลุ่มที่รักษาเบาหวาน ในการศึกษาได้นำเหง้าข่าสด และกากของเหง้าข่าสดหลังจากคั้นน้ำ มาทำการสกัดด้วยตัวทำละลายอะซิโตน เมทานอล เอทานอล และต้มกับน้ำเดือด จากผลการทดลอง พบว่าสารสกัดเหง้าข่าสด และกากเหง้าข่าสดหลังจากคั้นน้ำ ที่สกัดด้วยตัวทำละลาย 95% เอทานอลสามารถยับยั้งการหลั่งไนตริกออกไซด์ของเซลล์เม็ดเลือดขาวแมคโคฟาจเพาะเลี้ยงชนิด RAW264.7 ที่ถูกกระตุ้นด้วย LPS ได้ 50% (IC50) ที่ความเข้มข้น 10.8 ± 1.15 และ 9.0 ± 2.28 g/mL ตามลำดับ อีกทั้งสารสกัดดังกล่าวไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์ปกติเพาะเลี้ยงชนิด Vero อีกด้วย นอกจากนี้ยังได้ศึกษาสารสกัดจากสมุนไพรในกลุ่มรักษาเบาหวาน จำนวน 45 ชนิด พบว่า สารสกัดสะแงะ (Coriandrum sp.) ที่สกัดด้วยตัวทำละลายเมทานอลและเอทานอล แสดงฤทธิ์ต้านการอักเสบได้ 50% ที่ความเข้มข้น 7.3 ± 5.95 และ 29.2 ± 3.12 g/mL ตามลำดับ และไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์ปกติเพาะเลี้ยงชนิด Vero เช่นกัน จากผลการศึกษาคาดว่า ข่า และ สะแงะ น่าจะสามารถที่จะนำไปพัฒนาต่อยอดเป็นยาหรือส่วนประกอบทางยาที่ใช้สำหรับ การรักษาและป้องกันภาวะการอักเสบ และช่วยบรรเทาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ต่าง ๆ ของโรคเบาหวานได้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สมุนไพร | th_TH |
dc.subject | ข่า | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช | th_TH |
dc.title | คุณสมบัติต้านการอักเสบและความเป็นพิษของสารสกัดสมุนไพร ในกลุ่มที่รักษาเบาหวาน | th_TH |
dc.title.alternative | Anti-inflammation and cytotoxic properties in medical plants for diabetes treatment | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | anana@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | ssemsri@yahoo.com | th_TH |
dc.author.email | sureeporn.h@gmail.com | th_TH |
dc.year | 2563 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research is to study the anti-inflammatory and cytotoxic properties of galangal and medicinal plants extracts for diabetes treatment. For this study, the fresh rhizomes and the residue of the fresh rhizomes after separating the water of Alpinia galanga were extracted with acetone, methanol, ethanol and boiling water. From the results it was found that the 95% ethanol extracts from these materials showed the most potent inhibition of nitric oxide (NO) production in LPS stimulated RAW264.7 macrophage cell lines, with half maximal inhibitor concentration (IC50) values of 10.8 ± 1.15 and 9.0 ± 2.28 g/mL, respectively. Moreover, these extracts showed no cytotoxic activity against normal cells (Vero cell). In addition, the fortyfive medicinal plants for diabetes treatment were also evaluated the anti-inflammatory and cytotoxic properties. The methanol and 95% ethanol extracts of Coriandrum sp. showed strongest anti-inflammatory activity with IC50 values of 7.3 ± 5.95 and 29.2 ± 3.12 g/mL, respectively and they also showed no cytotoxicity against Vero cell. Therefore, the Alpinia galangal and Coriandrum sp. should be able to develop into drugs or pharmaceutical components used for the treatment and prevention of inflammatory effects and it helps to alleviate the pharmacological effects of diabetes. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2564_116.pdf | 1.22 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น