กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3959
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอัมพร ทองกู้เกียรติกูล
dc.date.accessioned2020-09-10T03:18:28Z
dc.date.available2020-09-10T03:18:28Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3959
dc.descriptionโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สัญญาเลขที่ 10/2561th_TH
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาผลของ letrozole และ ฮอร์โมน 17α-methyltestosterone ต่อการเปลี่ยนแปลงโกนาดและการเปลี่ยนเพศปลาการ์ตูนส้มขาว Amphiprion ocellaris โดยใช้ letrozole ความเข้มข้น 50 และ 100 และ มิลลิกรัม / กิโลกรัม (อาหาร) และ -methyl testosterone ความเข้มข้น 50 และ 100 มิลลิกรัม / กิโลกรัมอาหาร ผสมกับอาหารแล้วเลี้ยงปลาเป็นเวลานาน 60, 90 และ 210 วัน พบว่า letrozole ความเข้มข้น 50 มิลลิกรัม / กิโลกรัม (อาหาร) เลี้ยงปลานาน 210 วัน สามารถเปลี่ยนเพศปลาได้และไม่มีความผิดปรกติในการพัฒนาของ โกนาด การให้ฮอร์โมน 17α-methyl testosterone ความเข้มข้น 100 มิลลิกรัม / กิโลกรัม (อาหาร) เป็นเวลานาน 210 วันพบว่า ฮอร์โมน 17α- methyl testosterone กระตุ้นการสร้างสเปริม์จำนวนมาก แต่ภายใน gonad มี atretic cells จำนวนมาก ซึ่งผลการศีกษาครั้งนี้แสดงว่าความเข้มข้นของ 17α-methyl testosterone สูงมีผลต่อการเจริญและการพัฒนาของโกนาด แต่การวิจัยครั้งนี้พบปลาที่ได้รับ letrozole หรือ17α- methyl testosterone มีน้ำหนักไม่แตกต่างจากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ การให้ letrozole ความเข้มข้น 100 มิลลิกรัม / กิโลกรัม (อาหาร) นาน 210 วัน ไม่มีผลเปลี่ยนแปลงจุลกายวิภาคของสเปอร์มาโทไซต์ สเปอร์มาทิด และ สเปอร์มาโทซัวth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectปลาการ์ตูนส้มขาวth_TH
dc.subjectปลาการ์ตูนส้มขาว - - การเลี้ยงth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
dc.titleผลของฮอร์โมน17α-methyltestosterone และ letrozole ต่อกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และการแปลงเพศในปลาการ์ตูนส้มขาว (Amphiprion ocellaris)th_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailamporn@buu.ac.thth_TH
dc.year2561th_TH
dc.description.abstractalternativeThe aim of this study was to evaluate the effect of letrozole (a non-steroidal aromatase inhibitor) and 17α-methyltestosterone on gondal sex differentiation and sex reversal in Amphiprion ocellaris. Different doses of letrozole 50 and 100 mg/kg feed were incorporated into diet and fed for periods of 60, 90 and 210 days was studied. Specifically, treatment with 100 mg/ kg feed, 210 days yielded sex-reversed fish without any abnormalities in gonadal development. Fish that received 17α-methyl testosterone 100 mg/kg feed stimulated spermatogenesis and showed area with present of atretic cells. This result showed that high concentrations of 17α-methyl testosterone had effected on growth and gonadal development. The groups fed on the letrozole and methyl testosterone did not differ from the control group in terms of body weight. Administration of a single dose of letrozole of 100mg/kg feed, 210 days did not induce alternations in ultrastructure of germ cell development in treated fish including spermatocyte, spermatid and spermatozoa.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_106.pdf1.53 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น