กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3948
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุมิตร คุณเจตน์ | |
dc.contributor.author | ไพฑูรย์ ศรีนิล | |
dc.contributor.author | สมบัติ ฝอยทอง | |
dc.contributor.author | สุคนทิพย์ เถาโมรา | |
dc.contributor.author | เอื้อน ปิ่นเงิน | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2020-08-31T08:21:31Z | |
dc.date.available | 2020-08-31T08:21:31Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3948 | |
dc.description.abstract | การศึกษาปริมาณความต้องการน้ำของทุเรียนพันธุ์หมอนทอง อายุ 7 ปี ในแปลงปลูกของ เกษตรกรอำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินปริมาณการใช้น้ำของต้นทุเรียน พันธุ์หมอนทอง สำหรับใช้เป็นข้อมูลในการจัดการน้ำในสวนทุเรียนอย่างมีประสิทธิภาพตามความ ต้องการของทุเรียน โดยการติดตั้งสถานีตรวจวัดสภาพอากาศในแปลงทดลอง บันทึกปริมาณการใช้น้ำ ของพืชอ้างอิง (reference evapotranspiration, ETo) และค่าสัมประสิทธิ์การใช้น้ำ ( Crop coefficient, Kc) ของทุเรียน โดยเดือนเมษายน มีค่าเท่ากับ 0.75 แล้วนำมาคำนวณตามสมการของ Penman-Monteith (Allen et al., 1998). และการประเมินการใช้น้ำของทุเรียนจากข้อมูลการ เคลื่อนที่ของน้ำในลำต้นทุเรียน (sap flow) โดยการติดตั้งหัวตรวจวัดการเคลื่อนที่ของน้ำในลำต้น ทุเรียน (sap flow) ที่ระดับความสูงจากพื้นดิน 50 เซนติเมตร ทำการเก็บข้อมูลทุก 30 นาที ผลการ ทดลองพบว่า ปริมาณการใช้น้ำของต้นทุเรียนพันธุ์หมอนทองที่คำนวณจากค่า ETo มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 30-270 ลิตรต่อวัน ส่วนปริมาณการใช้น้ำที่ประเมินจาก sap flow มีค่าเฉลี่ย 100-270 ลิตรต่อวัน โดยปริมาณการใช้น้ำของทุเรียนมีความสัมพันธ์กับค่าปริมาณไอน้ำที่อากาศสามารถรับเพิ่มได้ (vapor pressure deficit, VPD) และความชื้นในดิน แสดงให้เห็นว่าปริมาณการใช้น้ำของต้นทุเรียนมีค่ามาก ในช่วงที่อากาศมีค่า VPD ต่ำ และมีความชื้นในดินสูง จากการศึกษารูปแบบวิธีการให้น้ำที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพในสวนทุเรียน พบว่าระบบการให้แบบสปริงเกอร์มีความยาวของกิ่งที่เกิดใหม่ เส้นผ่าศูนย์กลางของกิ่งที่เกิดใหม่ ความยาวของใบ ความกว้างของใบ และคลอโรฟิลล์ในใบทุเรียน มากที่สุด แต่ไม่มีค่าแตกต่างทางสถิติกับระบบการให้น้ำแบบฉีดฝอย จะเห็นได้ว่าสามารถใช้ระบบการ ให้น้าแบบฉีดฝอยแทนระบบการให้น้ำแบบสปริงเกอร์ ทำให้ประหยัดปริมาณน้ำที่ให้กับต้นทุเรียนได้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี | th_TH |
dc.subject | ทุเรียน | th_TH |
dc.subject | ทุเรียน -- การปลูก | th_TH |
dc.subject | ทุเรียน -- พันธุ์ | th_TH |
dc.title | การศึกษาปริมาณความต้องการน้ำและวิธีการให้น้ำที่เหมาะสม สำหรับทุเรียนพันธุ์หมอนทอง | th_TH |
dc.title.alternative | A Study on Water Requirement and Optimum Water Application to Durian cv. Monthong | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | skunjet@yahoo.com | th_TH |
dc.author.email | phaitoon@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | sombut@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | sukhontip@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | ouen@ru.ac.th | th_TH |
dc.year | 2561 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Study on water requirement for 5 years old durian cv. Monthong was conducted in Makham district, Chanthaburi province. The objective of this study to evaluate water requirement of durian cv. Monthong for efficient water management according to the requirement of durian cv. Monthong. Weather station was set in the plantation, the water requirement was calculated from reference evapotranspiration (ETo) and Crop coefficient (Kc), in April equal 0.75, followed by Penman-Monteith equation (Allen et al., 1998). Moreever, water requirement was estimated from sap flow also, the sap flow probes were inserted in the trunk at 50 centimeter above from the ground and collected the data every 30 minutes. The results showed that water requirement for durian cv. Monthong was around 30-270 litres/day, by Penman- Monteith equation. Whereas, water requirement for durian cv. Monthong was around 100-270 litres/day from sap flow estimated. Water requirement of durian cv. Monthong had related to vapor pressure deficit (VPD) and soil moisure content. Water requirement increased according to the decreasing of VPD and increasing of soil water content. Irrigation systems for durian in the plantation areas were consisted of three irrigation systems: 1) sprinkler irrigation 2) sprinklet irrigation 3) minisprinkler. The results showed that sprinkler irrigation was the highest in the height and diameter of the new shoot, the width and height of the leaves, chlorophyll of the leaves but no difference from sprinklet irrigation. Then we can use sprinklet irrigation for durian tree in the plantation. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย(Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2564_095.pdf | 2.68 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น