กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3934
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ขวัญชญานวิศ มาชะนา | |
dc.contributor.author | กาญจนา ธรรมนูญ | |
dc.contributor.author | อมรรัตน์ กนกรุ่ง | |
dc.contributor.author | บุญดิศย์ วงศ์ศักดิ์ | |
dc.contributor.author | อนุสรณ์ ธรรมพิทักษ์ | |
dc.contributor.author | วราภรณ์ ตัณฑนุช | |
dc.contributor.author | ณิชกานต์ ภีระคา | |
dc.contributor.author | แคทรียา สุทธานุช | |
dc.contributor.author | นปภัช รัตนะชิตธวัช | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะเภสัชศาสตร์ | |
dc.contributor.other | สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) | |
dc.date.accessioned | 2020-07-30T01:25:55Z | |
dc.date.available | 2020-07-30T01:25:55Z | |
dc.date.issued | 2562 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3934 | |
dc.description.abstract | การสำรวจและระบุลายพิมพ์ดีเอ็นเอของไดอะตอมที่สำรวจพบในชายฝั่งทะเล จังหวัดชลบุรี จำนวน 3 ชนิด พบว่าดีเอ็นเอของไดอะตอมมีเปอร์เซ็นต์ความใกล้เคียงเมื่อเทียบกับฐานข้อมูลจากการใช้โปรแกรม BLAST ได้แก่ Chaetoceros tenuissimus (%ident 96.27%), Thalassiosira pseudonana (%ident 99.82%) และ Odontella sp. (< 90% ไม่ทำการระบุชนิด) โดยทำการแยกเซลล์เดี่ยวแล้วเลี้ยงในอาหารที่ความเค็ม 3 ระดับ ได้แก่ 20 ppt, 30 ppt และ 40 ppt และเก็บรวบรวมไดอะตอมในระยะการเจริญเติบโต lag, exponential, retardation และ stationary phase เพื่อศึกษาปริมาณสารสีกลุ่มแคโรทีนอยด์และกรดไขมันในสารสกัดจากไดอะตอมที่สภาวะต่าง ๆ ด้วยเทคนิคโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง (HPLC) และแก๊สโครมาโทกราฟี-แมสสเปกโตรสโคปี (GC-MS) พบว่า ความเค็มส่งผลต่อการสังเคราะห์สารสีกลุ่มแคโรทีนอยด์และกรดไขมันที่แตกต่างกัน อีกทั้งยังมีผลต่อการสังเคราะห์สารประกอบกลุ่มฟลีนอลลิกและฟลาโวนอยด์ที่แตกต่างกันอีกด้วย โดย ไดอะตอมชนิด C. tenuissimus ในระยะ stationary ที่เลี้ยงในความเค็มที่ 20 ppt มีปริมาณสารสีกลุ่มแคโรทีนอยด์และสารประกอบฟลาโวนอยด์สูงสุด และมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวกลุ่ม EPA เป็นองค์ประกอบไม่พบ DHA สอดคล้องกับฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระที่สูงที่สุดที่ค่า IC50 เท่ากับ 0.015 mg/ml ซึ่งดีกว่าสารมาตรฐาน Trolox (0.020 mg/ml) แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และในไดอะตอมชนิด T. pseudonana ในระยะ stationary ที่เลี้ยงในความเค็มที่ 20 และ 40 ppt มีปริมาณสารสีกลุ่มแคโรทีนอยด์และสารประกอบกลุ่มฟลีนอลลิกค่อนข้างสูง ซึ่งให้ฤทธิ์สอดคล้องกับการต้านอนุมูลอิสระ FRAP ที่สูงที่สุด ส่วนในไดอะอตอม Odontella sp. ในระยะ stationary และ exponential phase ที่เลี้ยงในความเค็มที่ 30 ppt ซึ่งมีปริมาณสารสีกลุ่มแคโรทีนอยด์สูงและสารประกอบฟีนอลลิกและฟลาโวนอยด์สูง และมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวกลุ่มทั้ง EPA และ DHA เป็นส่วนประกอบ สอดคล้องกับฤทธิ์ต้าอนุมูลอิสระที่สูง ทั้งนี้การวิเคราะห์ปริมาณสารสีแคโรทีนอยด์และกรดไขมันด้วยเทคนิค Synchrotron FTIR-microspectroscopy ให้ผลสอดคล้องกับการศึกษาก่อนนี้และสามารถวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างระยะการเจริญเติบโตและการเลี้ยงความเค็มแต่ละดับความเค็ม และยังพบว่าสารสกัดไดอะตอม THA30exp ODO30exp ODO30ret และ CHE30sta มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ไทโรซิเนส อีลาสเทสและคอลลาจิเนส และส่งผลต่อการเจริญเติบโตของเซลล์ไลน์ผิวหนังที่แตกต่างกัน โดยมีเพียงสรสกัด ODO30Exp ที่มีฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์อะเซตทิลคลิรีนเอสเทอเรส ซึ่งจากผลการวิจัยนี้สามารถนำไปศึกษาต่อยอดการพัฒนาสูตรตำรับผลิตภัณฑ์บำรุงผิวจากสารสกัดจากไดอะตอมต่อไปได้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | อนุมูลอิสระ | th_TH |
dc.subject | ไดอะตอม | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช | th_TH |
dc.title | การใช้เทคนิค FTIR-spectroscopy และ RAMAN spectroscopy ในการวิเคราะห์ปริมาณสาร กลุ่มแคโรทีนอยด์ รูปแบบปริมาณกรดไขมัน ที่มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและลายพิมพ์ดีเอ็นเอของไดอะตอมเพื่อ ประโยชน์ในการประยุกต์ใช้ในเชิงพาณิชย์และการอนุรักษ์สายพันธุ์ในจังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Evaluation of FTIR-spectroscopy and RAMAN spectroscopy for Carotenoids content, Fatty acid profile effect on pharmacological activity and DNA fingerprint of diatom to apply for commercial and conservation in Chonburi Province | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | sasipawan.machana@gmail.com | th_TH |
dc.author.email | kanjanat@slri.or.th | th_TH |
dc.author.email | amonrat@bims.buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | boonyadist@go.buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | anusornt@go.buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | waraporn@slri.or.th | th_TH |
dc.author.email | nichakan@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | cattariq@hotmail.com | th_TH |
dc.author.email | supatta@go.buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2562 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The results from surveys and identification of DNA fingerprints from 3 diatoms from the East coast of Chonburi province showed % identification; Chaetoceros tenuissimus (96.27%), Thalassiosira pseudonana 99.82% and Odontella sp. (< 90% not identification). Three diatoms were separate as single cells and cultured in different salinities medium such as 20 ppt, 30 ppt and 40 ppt and then diatoms were collected at different growth phases i.e. lag, exponential, retardation and stationary phase. The diatoms at different conditions were used to determine carotenoids content, fatty acid profile using High performance liquid chromatography (HPLC) and GC-MS. The present study evaluated the effect of different salinities on the growth and chemical composition of 3 diatoms at four culture phases, under laboratory conditions. The results showed salinities induced the differentiation of metabolite to produce carotenoids content, fatty acid and other chemical compounds (total phenolic content and flavonoids content) which effected on pharmacological activity. The low salinities (20 ppt) media to culture C. tenuissimus extracts at stationary phase (CHE20Sta) showed high carotenoids content and flavonoids content, and the extract presented fatty acid of PUFA i.e. eicosapentaenoic acid (EPA, 20:5, n-3) without decosahexaenoic acid (DHA, 2 2 : 6 , n-3 ) content. Antioxidant activity of the CHE20Sta extract showed correlation to the chemical profile with the highest antioxidant effect by ABTS assay at IC50 value is 0.015 mg/ml, which showed higher activity and a significant difference from standard Trolox (IC50 is 0.020 mg/ml). The low to high salinities (20 and 40 ppt) media to culture T. pseudonana extracts at stationary phase (THA20Sta) showed high carotenoids content and total phenolic contents. The chemical contents of THA20Sta resulting in the highest antioxidant capacity by FRAP assay. The Odontella sp. showed high carotenoids, total phenolic and flavonoids content in medium (30 ppt) salinity medium at stationary and exponential phase. Moreover, high antioxidant activity of both Odontella sp and T. pseudonana were involved with chemical content and fatty acid of PUFA i.e. omega-3 (EPA and DHA) content. To evaluation of SR-FTIR-spectroscopy for carotenoids content and fatty acid profile showed correlation with chemical profile of diatom in different salinities and growth phase conditions. In addition, diatom extracts i.e. THA30exp ODO30exp ODO30ret and CHE30sta showed different effects of each sample extract on tyrosinase, elastase and collagenase inhibition activity and cell proliferation of human skin cell line (HaCaT cell). Acetylcholinesterase inhibitor showed only in the ODO30Exp extract. Knowledge from this study will be future useful to develop skin products from diatom extracts. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2564_078.pdf | 5.75 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น