กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3932
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorทนงศักดิ์ ยิ่งรัตนสุข-
dc.contributor.authorภัทรา หิรัญรัตนพงศ์-
dc.contributor.authorธนิดา จุลวนิชย์พงษ์-
dc.contributor.authorสมจิต พฤกษะริตานนท์-
dc.contributor.authorมยุรี พิทักษ์ศิลป์-
dc.contributor.authorพวงทอง อินใจ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned2020-07-15T07:30:39Z-
dc.date.available2020-07-15T07:30:39Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3932-
dc.description.abstractการวิจัยและพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของครูในภาคตะวันออก 2) พัฒนาโปรแกรมทางสังคมเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของครู 3) นำโปรแกรมทางสังคมไปทดลองใช้ในโรงเรียนเป้าหมาย 4) ประเมินผลการนำโปรแกรมไปทดลองใช้ ประชากรที่ศึกษาคือครูในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในภาคตะวันออก คัดเลือกตัวอย่างโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน นำโปรแกรมไปทดลองใช้ เป็นเวลา 6 เดือนในโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่งในภาคตะวันออก ซึ่งเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ วิเคราะห์ข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของครูคือรายได้ โปรแกรมทางสังคมเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของครู ประกอบด้วย 1) การสร้างนโยบายสุขภาพของโรงเรียน 2) การมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง 3) การจัดตั้งคณะทำงานและกาหนดบทบาทหน้าที่ 4) การสำรวจภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ 5) การสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ 6) การสร้างเครือข่ายทางสังคม 7) การติดตามและประเมินผล ผลการประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมพบว่า ครูมีภาวะความเครียดลดลง มีการจัดการสุขภาพด้านการรับประทานอาหารและการออกกาลังกายเพิ่มขึ้น และมีความพึงพอใจต่อสภาวะสุขภาพของตนเองเพิ่มขึ้น ปัจจัยสังคมที่กำหนดสุขภาพที่ได้นำมาใช้ในโปรแกรมนี้คือ การสร้างสิ่งแวดล้อมการทำงานที่เอื้อต่อสุขภาพ เครือข่ายทางสังคม และการปรับรูปแบบของบริการสุขภาพth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตth_TH
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพด้วยโปรแกรมทางสังคมth_TH
dc.title.alternativeEnhancing Health Related Quality of Life through Social Determinants Intervention Programth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailyingrata@yahoo.comth_TH
dc.author.emailpattra@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailtanida@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailsomjitp@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailmayuri.md@hotmail.comth_TH
dc.author.emailpuangtong@buu.ac.thth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research and development were to 1) determine factors affecting the quality of life of teachers in the eastern region, 2) develop a social intervention program to enhance teachers' health-related quality of life, 3) implement the social intervention program in the target school, and 4) evaluate the program implementation. The studied population was teachers in secondary schools in the eastern region. Subjects were selected by multi-stage random sampling. The program was implemented in an extra-large secondary school for 6 months. Data were analyzed by both quantitative and qualitative methods. The study results indicated that factors affecting the quality of life of the teachers were income. The social intervention program to enhance health-related quality of life of the teachers consisted of 1) school health policy 2) active participation 3) organization and co-ordination 4) health monitoring 5) supportive environment 6) social networking and 7) follow-up and evaluation. The results of program effectiveness evaluation revealed that teachers had a reduction of perceived stress, the increased health management through diet and exercise. They were more satisfied with their health status. Social determinants intervened in this program included a healthy work environment, social and community networks, and modified health service.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_077.pdf2.03 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น