กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/392
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:47:32Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:47:32Z | |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/392 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการพัฒนาคุณลักษณะเยาวชนเพื่อนที่ปรึกษา ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนประจำแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี โดยใช้กระบวนการจิตตปัญญาศึกษษ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีคะแนนความสัมพันธ์กับเพื่อนในระดับมาก และสมัครใจเข้าร่วมวิจัยจำนวนชั้นเรียนละ 10 คน รวม 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ชุดกิจกรรม แนวจิตตปัญญา และแบบวัดคุณลักษณะเยาวชนเพื่อนที่ปรึกษาดำเนินการอบรมนักเรียนชั้นละ 3 ครั้ง ๆ ละ 3 ชั่วโมง ทำการทดสอบผลการอบรมด้วยแบบวัดคุณลักษณะเยาวชนเพื่อนที่ปรึกษา โดยทำการทดสอบก่อน อบรม หลังอบรม และติดตามผลหลังอมรมเป็นเวลา 1 เดือน แล้วนำผลการทดสอบมาทำการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เข้าอบรมมีคะแนนคุณลักษณะเยาวชนเพื่อนที่ปรึกษา ภายหลังอบรมและระยะติดตามผล สูงกว่าก่อนอบรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.description.sponsorship | การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย จากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ 2553 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | จิตตปัญญาศึกษา | th_TH |
dc.subject | โรงเรียนประจำ | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | การพัฒนาคุณลักษณะเยาวชนเพื่อนที่ปรึกษา สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนประจำ จังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | The development of characteristic of youth peer counselor for lower secondary school students in a boarding school at Chonburi province | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2554 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was study the effects of contemplative education practice on characteristic of youth peer counselor. The sample consisted of thirty lower secondary school students in A Boarding-School at Chonburi Province. Who had the Best Friend Questionnaire (BFQ) were at a high level and volunteered to join this research: ten students for each to three classes. The instruments were Contemplative education practice program and Desirable Characteristics Inventory for Youth Peer Counselors. The interventions were conducted: three hour for each session to three sessions per group. The data collection procedure was divided into three phases: the pre-test and the Follow- up after post-test a month. The data were analyzed by repeated - measure analysis of variance. The results revealed that participants demonstrated significantly higher at .05 levels on characteristic of youth peer counselor in both the post-test and the follow - up than in the pre-test | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น