กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3927
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวัชรพงษ์ แจ่มสว่าง-
dc.date.accessioned2020-07-10T06:37:08Z-
dc.date.available2020-07-10T06:37:08Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3927-
dc.description.abstractระบบนำส่งยาอนุภาคนาโนเป็นกลยุทธ์สำคัญที่สามารถเพิ่มความจำเพาะต่อการนำส่งไปยังเซลล์มะเร็ง ซึ่งจะช่วยลดอาการข้างเคียงของยาและเพิ่มความสามารถในการออกฤทธิ์ของยาได้ โดยงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบ liposome เพื่อนำส่ง Furazolidone และเตรียม Liposome จำก DCA และ Phosphatidylcholine (PD) เพื่อใช้นำส่งไปยังเซลล์มะเร็งด้วยวิธี lipid film hydration method. ตำรับที่เตรียมได้แต่ละสูตรจะนำมาเปรียบเทียบกันในปัจจัยของลักษณะทางกายภาพ ขนาดอนุภาค การกระจายตัวของอนุภาค และความสามารถในการกักเก็บยา ศึกษาความคงตัวในสภาวะจำลองภายในร่างกาย 3 สภาวะ คือ Phosphate buffer saline solution (PBS pH 7.4), RPMI-1640 medium และ DMEM ที่อุณหภูมิ 37ºC เป็นระยะเวลำ 7 วัน พบว่าตำรับที่เหมาะสมที่สุดคือ PD: DCA: Furazolidone in ratio 4:1:5 มีขนาดอนุภาค 177.9556± 39.0976 และสามารถกักเก็บตัวยาได้ถึง 35.6087 ± 4.3671 % และนำตำรับที่คัดเลือกได้นั้นมาทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งและความสามารถในการนำส่งเข้าสู่เซลล์มะเร็งเต้านม (MCF-7) ผลการศึกษาว่า PD: DCA: Furazolidone in ratio 4:1:5 สามารถเพิ่มการยับยั้งการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็งและนำส่งเข้าสู่เซลล์มะเร็งได้อย่างมีนัยยะสำคัญ (P<0.05) โดยสรุปแล้ว liposome-Deoxycholic acid สามารถนำมาพัฒนาเพื่อใช้เป็นระบบนำส่งยาต่อไปได้ในอนาคตth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณ แผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยบูรพา ผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เลขที่สัญญา 5.3/2562th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.subjectระบบนำส่งยาth_TH
dc.subjectโรคมะเร็งth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบนาส่งระดับนาโนบรรจุตัวยาฟูราโซลิโดนไปสู่เซลล์มะเร็งth_TH
dc.title.alternativeDevelopment nano-carrier containing furazolidone for delivery to cancer cellth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailwatcharaphong@buu.ac.thth_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeNano-drug delivery system is important strategy to increase specific targeting, increase therapeutic effect and reduced adverse effect of anticancer drugs. The objective of this study was carried out to develop liposome as vehicle for delivery Furazolidone. The liposome was prepared from Phosphatidylcholine (PD) and Deoxycholic acid (DCA) for delivery to cancer cell. All formulations were prepared by lipid-film hydration method. The formulations were selected by comparing parameter; physical properties, particle size, zeta potential and entrapment efficacy. The stability of liposome have been stored in 3 conditions medium PBS pH 7.4, RPMI-1640 medium and DMEM, and control temperature at 37ºC for 7 day. The result found that the optimal formulation PD: DCA: Furazolidone in ratio 4:1:5 had greater value of parameters (size=177.9556± 39.0976, %EE=35.6087 ± 4.3671 %). The selected formulations were prepared for all cytotoxicity and cellular uptake evaluation in breast cancer cell line (MCF-7). The result show that liposome contained PD: DCA: Furazolidone in ratio 4:1:5 can be inhibit proliferation and increase cellular uptake significantly (P<0.05). In conclusion, the liposome-Deoxycholic acid can be developing to drug nano-carrier.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_073.pdf3.32 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น