กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/390
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจันทร์ชลี มาพุทธ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:32Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:32Z
dc.date.issued2552
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/390
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมจิตตปัญญาศึกษา โดยจัดกิจกรรมจิตตปัญญาศึกษาในรายวิชา ปรัชญาและแนวคิดทางการศึกษา จากนิสิตสาขาวิชาปฐมวัย จำนวน 30 คน โดยผู้วิจัยศึกษาแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา กิจกรรมและผลกการจัดกิจกรรม ด้วยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้วิธีสังเกตอย่างมีส่วนร่วม การจดบันทึก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ผู้วิจัย สมุดบันทึก กิจกรรมที่ใช้ได้แก่ กิจกรรมสุนทรียสนทนา (Dialogue) การฟังอย่างลึกซึ้ง (Deep Listening) การเล่าเรื่อง (Story Telling) การบันทึกการเรียนรู้ (Journaling) การพักผ่อนตระหนักรู้ (Mindful Relaxation) การนั่งสมาธิ (Sitting meditation) การวาดรูป (Drawing) การมีสติกับการทำงาน (Mindfulness Practice) งานจิตอาสา (Volunteer spirit)และการปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม(Ceremonies / Rituals based on a cultural or religion tradition) การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างลึกซึ้ง ช่วยพัฒนาการคิดเชิงวิพากย์ การวิเคราะห์และความสามารถในการแก้ปัญหา ทั้งยังส่งผลต่อการพัฒนาทางด้านอารมณ์ การยอมรับตนเองและสังคม นอกจากนั้นยังสามารถให้ผู้เรียนฟังอย่างลึกซึ้ง ซาบซึ้งและ เข้าใจ มีความสามรถในการเรียนรู้ร่วมกัน และยังส่งผลต่อการคิดเชิงส้างสรรค์และการเปลี่ยนแปลงความคิดของผู้เรียนth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพ (สสส.)en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectกิจกรรมทางการศึกษาth_TH
dc.subjectจิตตปัญญาศึกษาth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมจิตตปัญญาศึกษา: กรณีศึกษารายวิชาปรัชญาและแนวคิดทางการศึกษาth_TH
dc.title.alternativeThe result of contemplative education: a case study philosophy and concepts of educationen
dc.typeResearchth_TH
dc.year2552
dc.description.abstractalternativeThis study examined the result of contemplative education: a case study philosophy and concepts of education from 30 eary childhood students in the first year. The researcher study contemplative concept, activities and result by qualitative research, participant observation journal and reflection. The instrument used composed researcher, journaling, dialogue, deep listening, story telling, mindful relaxation, sitting meditation, drawing, spirit and ceremonies/ rituals based on a cultural or religion tradition. Data anlysized by content analysis. This study findings indicate broadly that contemplative/ spiritual teaching-learning approaches do indeed complement student-centered approaches and that these two approaches are likely to prove synergistic - - i.e., when used together, these approaches foster student learning on a deeper level than might occur when either approach is used alone. The findings also indicate that spiritual/ contemplative approaches to education support and enhance the development of a number of important traditional academic skills such as critical and objective thinking, textual analysis, and problem-solving,as well as important affective qualities such as emotional intelligence, commitment to social engagement, a sense of purpose, the ability to listen deeply, compassion, meta-cognition, the ability to cooperate, and welcoming diversity. Furthermore, spiritual/ contemplative approaches foster creativity and transformation thinking.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2567_158.pdf6.81 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น