กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3907
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจเร จรัสจรูญพงศ์
dc.contributor.authorอนันต์ อธิพรชัย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2020-04-23T03:00:55Z
dc.date.available2020-04-23T03:00:55Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3907
dc.description.abstractในงานวิจัยนี้ได้ประสบความสำเร็จในการออกแบบการสังเคราะห์และศึกษาฤทธิ์การยับยั้งโคลีน เอสเทอเรสของอนุพันธ์ทริปทามีนเพื่อใช้รักษาโรคอัลไซเมอร์ชนิดต่าง ๆ จำนวน 27 โครงสร้าง ซึ่งมีกลุ่มอนุพันธ์ทริปทามีนและอินโดล แตกต่างกัน 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) สารกลุ่มอนุพันธ์ tryptamine ที่มีหมู่แทนที่บนวงอินโดลตาแหน่งที่ 5 จำนวน 2 โครงสร้าง (5-hydroxy และ 5-methoxytryptamine) 2) สาร N-(pyrrolidylalkyl)indoles IV-3a-g และ N-(piperidylalkyl)indoles IV-4a-g รวมจำนวน 14 โครงสร้าง 3) สารกลุ่ม chloroalkyl- และ bromoalkylindole รวมจำนวน 9 โครงสร้าง และ 4) สารกลุ่ม bisindolyl-N-alkyl derivatives รวม 2 โครงสร้าง โดยสารสังเคราะห์ทั้ง 27 โครงสร้าง สามารถ สังเคราะห์ด้วยวิธีการที่ง่าย ใช้สภาวะการทดลองที่ไม่รุนแรง ให้ร้อยละผลิตภัณฑ์ปานกลางถึงสูง นอกจากนี้ ได้นำสารอนุพันธ์ทริปทามีและอินโดล ที่สังเคราะห์ได้จำนวน 27 โครงสร้างไปศึกษาถึงความเป็นไปได้ใน การใช้ประโยชน์เป็นยารักษาโรคอัลไซเมอร์ โดยนำสารที่สังเคราะห์ได้นี้ไปทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งแอน ไซม์แอซิทิโคลีนเอสเทอเรส โดยเปรียบเทียบกับยากาแลนทามีน ซึ่งเป็นยาที่ใช้รักษาผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ใน ปัจจุบัน พบว่า สาร 5-bromo-1-(3-chloropropyl)-1H-indole V-5d มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แอซิติลโคลีนเอสเทอเรสมากกว่า 70% คือ สามารถยับยั้งเอนไซม์แอซิติลโคลีนเอสเทอเรสได้ร้อยละ 73.53 ± 0.30% ขณะที่ยา Galantamine ภายใต้สภาวะที่ศึกษายับยั้งเอนไซม์แอซิติลโคลีนเอสเทอเรสได้ร้อยละ 100.00 อย่างไรก็ตามสาร 5-bromo-1-(3-chloropropyl)-1H-indole V-5d มีขนาดโมเลกุลเล็กกว่าและสังเคราะห์ได้ง่ายกว่า ยา Galantamine มาก ดังนั้น สาร 5-bromo-1-(3-chloropropyl)-1H-indole V-5d สามารถเป็น lead compound ที่ดีชนิดหนึ่งเพื่อนำไปพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างให้ได้สารที่มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แอซิติลโคลีนเอสเทอเรสได้สูงกว่าหรืออยู่ในระดับเดียวกันกับยา Galantamine และสามารถนำไปใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ได้th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectโรคอัลไซเมอร์th_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleการออกแบบการสังเคราะห์และศึกษาฤทธิ์การยับยั้งโคลีนเอสเทอเรสของอนุพันธ์ทริปทามีนเพื่อใช้รักษาโรคอัลไซเมอร์th_TH
dc.title.alternativeDesign, synthesis and biological evaluation of tryptamine derivatives as cholinesterase inhibitors for the treatment of Alzheimer’s diseaseen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailanana@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailjaray@buu.ac.thth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeIn this research, four groups of the corresponding tryptamines and indoles such as 1) 5-hydroxy as well as 5-methoxytryptamine 2) N-(pyrrolidylalkyl)indoles IV-3a-g together with N-(piperidylalkyl)indoles IV-4a-g 3) N-chloroalkyl- as well as N-bromoalkylindoles and 4) bisindolyl-N-alkyl derivatives were synthesized by simple methods under mild reaction contition to afford the twenty-seven compounds of tryptamine and indole derivatives in moderate to excellent yields. Furthermore, all synthesized compounds were evaluated acetylcholinesterase inhibitory activity. Acetylcholinesterase is an enzyme that contributes to Alzheimer's disease. The results found that 5-bromo-1-(3-chloropropyl)-1Hindole V-5d showed promising acetylcholinesterase inhibitory activity with value of 73.53 ± 0.30%. Thus, the compounds V-5d would be a lead compound for the development of novel drug for the Alzheimer’s disease.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_050.pdf2.22 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น