กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3887
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorรุ่งโรจน์ ยิ่งสง่า
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะอัญมณี
dc.date.accessioned2020-04-15T03:24:01Z
dc.date.available2020-04-15T03:24:01Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3887
dc.description.abstractการทำเหลือบสีบนผิวชิ้นงานโลหะเงินและโลหะเงินสเตอริง ใช้เทคนิคทางไฟฟ้าเคมี คือ กระบวนการอะโนไดซ์ การศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการอะโนไดซ์บนชิ้นงานโลหะเงินและโลหะเงินสเตอร์ลิงจะถูกนำไปทำอะโนไดซ์เพื่อให้เกิดฟิล์มบนผิวชิ้นงาน ที่กำลังไฟฟ้า เวลาและความเข้มข้นสารละลายซัลเฟอร์และโซเดียมไฮดรอกไซด์ต่างกัน การเกิดเหลือบสีบนผิวโลหะเงินสามารถตรวจสอบได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์แสง ลักษณะการเรียงตัวของอนุภาคสีที่ผิวของชิ้นงานตรวจสอบได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดพร้อมวิเคราะห์ธาตุด้วยเทคนิค EDS และมีการทดสอบความคงทนสีผิวของชิ้นงาน ด้วยการติดเทปใสบนผิวชิ้นงานแล้วทำการลอกออกเพื่อดูสีที่ติดออกมา จากการทดลองพบว่าลักษณะของชั้นฟิล์มที่เคลือบอยู่บนผิวชิ้นงาน เมื่อด้วยกล้องจุลทรรศน์ทั้งสองชนิดพบว่า ผิวของชิ้นงานเกิดการเหลือบสีและมีอนุภาคการเรียงตัวสีแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นสารละลาย เวลาและกำลังไฟฟ้าที่ใช้ในการทำอะโนไดซ์ สภาวะอะโนไดซ์ที่เหมาะสมสำหรับการทำเหลือบสีบนผิวชิ้นงานโลหะเงินและโลหะเงินสเตอริงด้วยกระบวนการอะโนไดซ์ คือ การอะโนไดซ์ในซัลเฟอร์และโซเดียมไฮดรอกไซด์ ที่มีความเข้มข้นในอัตราส่วนที่ 1:1 เวลา 15 วินาที กำลังไฟฟ้า 3 โวลต์ สีที่ได้จากการทำเหลือบสีบนชิ้นงานด้วยกระบวนการอะโนไดซ์ มีความคงทนไม่หลุดลอกง่ายth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะอัญมณี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรีth_TH
dc.subjectเครื่องประดับเงินth_TH
dc.subjectเคมีไฟฟ้าth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleการปรับปรุงสภาพผิวของโลหะเงินให้เกิดสีโดยวิธีการอะโนไดซ์th_TH
dc.title.alternativeColor Variation on Silver Surface by Anodizationen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailrungroteyingsanga@gmail.comth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeElectrochemical techniques that gives glimpse of the color on surface of silver and sterling silver is call anodization. The anodized film creates cause of color on the surface. Using sulfur and sodium hydroxide mixture. In this study, the electromotive force, reaction time and solution concentration were varied. A glimpse of the color on the metal surface was observed using an optical microscope. Colored particles on the surface of the specimen was examined by scanning electron microscopy ( SEM) and elemental analysis technique EDS. Durability of colored surface was tested by peeling off sticky tap from the surface. The study showed the characteristics of the coating layer on the surface of silver and sterling silver. Microscopic images of the specimen showed a glimpse of the anodized color and the arrangement of particles of different colors. Suitable anodized conditions for the characteristic anodized color was at 1: 1 ratio of sulfur and sodium hydroxide, for 15 minutes of anodized time and 3 volts of anodized voltage. The anodized film with a glimpse of the characteristic color on the metal surface was able to resist the peeling off testing process.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_038.pdf7.16 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น