กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3864
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุทิน กิ่งทอง
dc.contributor.authorแววลี โชคแสวงการ
dc.contributor.authorภาคภูมิ พระประเสริฐ
dc.contributor.authorสุภัททา เฉื่อยฉ่่า
dc.contributor.authorวิไลวรรณ พวงสันเทียะ
dc.contributor.authorศิริวรรณ ชูศรี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2020-04-12T02:08:06Z
dc.date.available2020-04-12T02:08:06Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3864
dc.description.abstractปัจจุบันเกิดภาวะโลกร้อน ทำให้แมงกะพรุนมีการจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงเกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมาโดยเฉพาะด้านการท่องเที่ยว ส่งผลให้นักท่องเที่ยวได้รับอันตรายจากการโดนแมงกะพรุนต่อยจำนวนมาก เนื่องจากตามอวัยวะต่าง ๆ ของแมงกะพรุนบรรจุเข็มพิษที่มีลัษณะเป็นกระเปาะ โดยสามารถถูกกระตุ้นให้ปล่อยออกมาเพื่อป้องกันตัวจากผู้ล่า ซึ่งพิษของแมงกะพรุนมี ระดับความรุนแรง ที่แตกต่างกัน มีการใช้น้ำส้มสายชูและผักบุ้งทะเล มาใช้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น แต่มีรายงานว่า น้ำส้มสายชูมีผลกระตุ้นต่อการปล่อยพิษของเข็มพิษ แมงกะพรุนบางชนิดให้มากขึ้น อย่างไรก็ดีความรู้พื้นฐานด้านชีววิทยาและกลไกการปล่อยเข็มพิษของแมงกะพรุนยังไม่เป็นที่ทราบดีนัก ผู้วิจัยจึงสนใจ ที่จะศึกษาสัณฐานและการกระจายของเข็มพิษของแมงกะพรุนไฟมาเลเซีย Sanderia malayensis โดยทำการศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง และนับจำนวนเข็มพิษเพื่อหาความหนาแน่นของเข็มพิษในหนวด แขนรอบปาก และร่ม พบว่าเข็มพิษมีรูปร่างเป็นกระเปาะและท่อกลวงขดอยู่ภายใน โดยพบเข็มพิษอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มอาจมีขนาดแตกต่างกัน บริเวณหนวดพบเข็มพิษได้มากที่สุด จากนั้นทำการทดสอบการกระตุ้นการปล่อยเข็มพิษด้วยสารเคมีชนิดต่าง ๆ พบว่า น้ำทะเลที่ความเข้มข้น 30 ppt และ ผักบุ้งทะเลบดในน้ำทะเล สามารถยับยั้งการปล่อยเข็มพิษ แต่น้าส้มสายชูจะกระตุ้นการปล่อยเข็มพิษในแมงกะพรุนชนิดนี้ นอกจากนี้ยังได้ทำการศึกษาจุลกายวิภาคของเนื้อเยื่อแมงกะพรุนไฟมาเลเซียภายใต้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านพบเข็มพิษภายในเซลล์สร้างเข็มพิษ (nematocyte) เข็มพิษมีลักษณะเป็นกระเปาะที่มีแคปซูลหนา ภายในเซลล์สร้างเข็มพิษพบเยื่อเอ็นโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดขรุขระ (RER) จำนวนมาก คาดว่ามีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบของเข็มพิษth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectแมงกะพรุนth_TH
dc.subjectเข็มพิษth_TH
dc.subjectพิษวิทยาth_TH
dc.subjectจุลกายวิภาคth_TH
dc.subjectกะพรุนไฟth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleโครงสร้างและคุณสมบัติเชิงเคมีของเนื้อเยื่อและเซลล์เข็มพิษในแมงกะพรุน Sanderia malayensis และ Rhopilema hispidum และกลไกการปล่อยเข็มพิษth_TH
dc.title.alternativeStructure and histochemical properties of tissue and nematocyst in jellyfishes Sanderia malayensis and Rhopilema hispidum, and mechanism of nematocyst dischargeen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailsutin11k@yahoo.com
dc.author.emailwaeowalee@buu.ac.th
dc.author.emailphakpoompp@yahoo.com
dc.author.emailwilaiwanp@buu.ac.th
dc.author.emailsiriwanc@buu.ac.th
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeCurrent global warming is causing the jellyfish to grow rapidly. This has become a problems, especially for tourism as many tourists are being stung by venomous jellyfish. Various organs of jellyfish contain nematocyst which can be discharged to protect itself from predators. The nematocyst of jellyfish has different severity levels. Vinegar and morning glory are being used in first aid but reports show vinegar has a stimulating effect on the nematocyst of the venom thread in some type of jellyfish. However, basic knowledge of biology and mechanism of nematocyst discharge are not fully understood. Therefore the propose of this current work were to study morphology and distribution of the nematocyst in Malasian jellyfish Sanderia malayensis under a light microscope in order to calculate nematocyst density in tentacles, oral arms and umbrella. Results showed that the nematocyst has a bulbous shape and a hollow tube inside. Nematocysts are found within nematocyst groups. Each groups may differ in size. Nematocysts are most abundant in the tentacle. Additionally, effect of various chemicals on nematocyst discharge were also tested. The result showed that seawater at concentration of 30 ppt and morning glory extract in seawater inhibited the nematocyst discharge while vinegar stimulated the nematocyst discharge in this species. Moreover, ultrastructure of nematocyst was also studied by using a transmission electron microscope. The result showed that nematocysts were found in nematocyte. Nematocysts composed of a bulb which surrounding by a thick capsule wall. A large number of rough endoplasmic reticulum (RER) was distributed in cytoplasm of nematocyte indicating that this may related to the production of toxin proteins in nematocyst capsule.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_010.pdf4.64 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น