กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3859
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สิริมา ชินสาร | |
dc.contributor.author | นิสานารถ กระแสร์ชล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2020-04-09T02:02:29Z | |
dc.date.available | 2020-04-09T02:02:29Z | |
dc.date.issued | 2562 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3859 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการพัฒนากรรมวิธีการผลิตสาหร่ายพวงองุ่นอบแห้งคืนรูปเร็ว ขั้นตอนแรก เป็นการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของสาหร่ายพวงองุ่นที่ใช้เป็นวัตถุดิบ พบว่า มีปริมาณไขมันต่ำ แต่มีแคลเซียมสูงถึง 589.69 mg/ 100 g ขั้นตอนที่ 2 เป็นการศึกษาการเตรียมขั้นต้นด้วยวิธีการลวกในสารละลายที่แตกต่างกันต่อคุณภาพด้านสีและการคืนรูป พบว่า การลวกในน้ำร้อนที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 นาที สามารถรักษาค่าความเป็นสีเขียวเอาไว้ได้ดีที่สุด และทำให้สาหร่ายมีการคืนรูปที่ดีใกล้เคียงกับสาหร่ายพวงองุ่นสด จากนั้นศึกษาผลของการออสโมซิสในสารละลายผสมระหว่างน้ำตาล 40% และโซเดียมคลอไรด์ 10% (w/w) โดยการแช่ในสารละลายออสโมติกเป็นเวลา 30 นาทีก่อนทำการอบแห้งด้วยตู้อบลมร้อน พบว่า สาหร่ายที่ผ่านการออสโมซิสมีค่าสีและความแน่นเนื้อภายหลังการคืนรูปใกล้เคียงกับสาหร่ายพวงองุ่นสด ขั้นตอนสุดท้าย ศึกษาผลของวิธีในการทำแห้งด้วยตู้อบลมร้อนอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส และตู้อบสุญญากาศ อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส ความดัน 46 cmHg พบว่า การใช้ตู้อบลมร้อนทำให้สาหร่ายมีการคืนรูป ค่าสี และความแน่นเนื้อใกล้เคียงกับสาหร่ายพวงองุ่นสด แต่มีปริมาณคาร์โบไฮเดรตและพลังงานสูงขึ้นจากปริมาณน้ำตาลที่เพิ่มขึ้นในระหว่างการออสโมซิส | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สาหร่ายพวงองุ่น | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช | th_TH |
dc.title | การพัฒนากรรมวิธีการผลิตสาหร่ายพวงองุ่นอบแห้งคืนรูปเร็ว | th_TH |
dc.title.alternative | Process Development of Quick-rehydrated Dried Green Caviar | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | sirima@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | nisanart@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2562 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research was to develop quick-rehydrated dried green caviar product. First step, chemical composition of raw material was assayed. Fresh green caviar had low fat content but high calcium of 589.69 mg/ 100 g. Second step, pretreatment by blanching with different solutions on color and rehydration properties was studied. Results showed that blanchin with hot water, 80oC for 1 minute, could retain greenness and the rehydrated product was closed to the fresh green caviar. Then, effect of osmosis in mixture solution of 40% sugar and 10% sodium chloride for 30 minutes was studied. Results showed that rehydrated green caviar had color and firmness similar to the fresh one. Finally, effect of drying method by using tray drier (60oC) and vacuum drier (50oC, 46 cmHg) was investigated. Results revealed that drying using the tray drier, product had the rehydration value, color and firmness closed to fresh green caviar. But carbohydrate content and energy content were higher because of sugar obtained during osmosis process. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2564_001.pdf | 660.3 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น