กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/383
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เศรษฐวัชร ฉ่ำศาสตร์ | th |
dc.contributor.author | ศิริโฉม ทุ่งเก้า | th |
dc.contributor.author | เยาวภา ไหวพริบ | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:47:31Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:47:31Z | |
dc.date.issued | 2549 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/383 | |
dc.description.abstract | เอนไซม์แอลฟาอะไมเลสเป็นเอนไซม์ที่มีบทบาทสำคัญต่อกระบวนการลิควิแฟคชันของแป้ง จากการวิจัยพบว่า อาหารเลี้ยงเชื้อที่เหมาะสมต่อกระบวนการผลิตเอนไซม์แอลฟาอะไมเลสแบบ Submerge โดย B. licheniformis กล่าวคือ ให้กิจกรรมเอนไซม์สูงและมีราคาถูกประกอบด้วย แหล่งคาร์บอน ได้แก่ แป้งมันสำปะหลัง ความเข้มข้น 2 กรัมต่อลิตร และแหล่งไนโตรเจน ได้แก่ น้ำแป้งถั่วเหลือง ความเข้มข้น 9 กรัมต่อลิตร ส่วนสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตเอนไซม์ คือ พีเอชเท่ากับ 6.0 อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส โดยสูตรอาหารเลี้ยงเชื้อและสภาวะดังกล่าวทำให้ได้ค่ากิจกรรมเอนไซม์แอลฟาอะไมเลส เท่ากับ 28.56 หน่วยต่อมิลลิลิตร ซึ่งลดลงจากสูตรอาหารเลี้ยงเชื้อเริ่มต้นที่ให้ค่ากิจกรรมเอนไซม์แอลฟาอะไมเลสเท่ากับ 34.14 หน่วยต่อมิลลิลิตร เนื่องจากมีการตัดยีสต์สกัดออกจากสูตรอาหารและมีการแทนที่ทริปโทนด้วยน้ำแป้งถั่วเหลืองเพือลดต้นทุนการผลิต และจากการเพาะเลี้ยง B. licheniformis แบบ Batch ที่สภาวะที่ทำการทดลอง พบว่า การผลิตเอนไวม์แอลฟาอะไมเลสของ B. licheniformis มีลักษณะเป็น Growth-associated ที่มีค่าอัตราการเจริญจำเพาะสูงสุด (u max) เท่ากับ 0.39 ต่อชั่วโมง ได้กิจกรรมเอนไซม์สูงสุดเท่ากับ 30.09 หน่วยต่อมิลลิลิตร ในเวลา 24 ชั่วโมง มีค่าน้ำหนักเซลล์แห้งสูงสุดเท่ากับ 1.39 กรัมต่อลิตร ระยะเวลาของระยะ Lag (t-lag) เท่ากับ 1.46 ชั่วโมง Doubling time (t-d) เท่ากับ 1.76 ชั่วโมง ผลผลิตเอนไซม์แอลฟาอะไมเลส ต่อมวลเซลล์ (Yp/x) เท่ากับ 20060.70 หน่วยต่อกรัมน้ำหนักแห้ง ผลผลิตเอนไซม์แอลฟาอะไมเลสต่อสับสเตรท (Yp/s) เท่ากับ 2221.45 หน่วยต่อกรัมสีบสเตรท อัตราการผลิตเอนไซม์สูงสุด (Maximum enzyme production rate) เท่ากับ 1253.8 หน่วยต่อลิตรต่อชั่วโมง และค่า Maximum specific activity เท่ากับ 16082.84 หน่วยต่อกรัมโปรตีน | th_TH |
dc.description.sponsorship | ทุนวิจัยสำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2548-2549 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | กลูอะมีเลส | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.subject | อะมีเลส | th_TH |
dc.subject | เอนไซม์ย่อยอาหาร | th_TH |
dc.subject | แป้งมันสำปะหลัง | th_TH |
dc.title | การผลิตเอนไซม์แอลฟาอะมัยเลส และกลูโคอะไมเลสจากจุลินทรีย์สายพันธุ์ที่คัดเลือกได้ในถังหมักสำหรับการสลายแป้งมันสำปะหลัง | th_TH |
dc.title.alternative | Production of a-amylase and glucoamylase from the selected microbial strains in fermenters for cassava starch hydrolysis | en |
dc.type | งานวิจัย | |
dc.year | 2549 | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
2568_097.pdf | 3.42 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น