กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3838
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorภัทราพร สร้อยทอง
dc.contributor.authorกรรณิการ์ จันทร์ชิดฟ้า
dc.contributor.authorสุชาติ ชายหาด
dc.contributor.authorนราธิป เพ่งพิศ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์
dc.date.accessioned2020-04-02T09:08:40Z
dc.date.available2020-04-02T09:08:40Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3838
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2) ศึกษาสถานการณ์และปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์เกาะความร้อนและวิเคราะห์ปรากฏการณ์เกาะความร้อน 3) ศึกษาสถานการณ์และปัจจัยที่ก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจกและวิเคราะห์ปรากฏการณ์เรือนกระจก 4) ประเมินผลกระทบของปรากฏการณ์เกาะความร้อนและภาวะเรือนกระจก 5) สร้างแบบจำลอง ความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์เกาะความร้อน สภาวะก๊าซเรือนกระจก การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศและการใช้ประโยชน์ที่ดิน 6) ศึกษาแนวทางการแก้ไขและวิธีป้องกันปรากฏการณ์เกาะ ความร้อนและสภาวะก๊าซเรือนกระจกพร้อมทั้งจัดทำแผนการบริหารจัดการปรากฏการณ์เกาะความ ร้อนและสภาวะก๊าซเรือนกระจกจากการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก วิธีการศึกษาครั้งนี้เป็น การเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งแบบปฐมภูมิคือการเก็บข้อมูลภาคสนาม และข้อมูลทุติยภูมิร่วมกับข้อมูล ทางกายภาพจากการศึกษาตามแผนภาพถ่ายดาวเทียมแล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูลแบบผสมทั้งเชิง คุณภาพและเชิงปริมาณโดยประยุกต์ร่วมกับเทคนิคทางภูมิศาสตร์สารสนเทศ โดยใช้ข้อมูลจาก ดาวเทียม Landsat 5, 8 และดาวเทียม GOSAT ในจังหวัดชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี จันทบุรี ตราด และสระแก้ว ผลการศึกษา พบว่า (1) จากผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิพื้นผิวและปรากฏการณ์เกาะความร้อนในพื้นที่ภาคตะวันออกพบว่าอุณหภูมิพื้นผิวมีค่าสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะพื้นที่เมืองและอุตสาหกรรมเมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่เกษตรกรรมโดยรอบ ความแตกต่างของอุณหภูมิก่อให้เกิดสภาวะปรากฏการณ์เกาะความร้อน ในการศึกษาครั้งนี้พบว่ามีการเพิ่มขึ้นของระดับอุณหภูมิพื้นผิวและปรากฏการณ์เกาะความร้อน 5 จังหวัด คือ ชลบุรี ปราจีนบุรี สระแก้ว และ ฉะเชิงเทรา (2) ปรากฏการณ์ก๊าซเรือนกระจกพบว่า พื้นที่ภาคตะวันออกมีปริมาณก๊าซก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์กระจายตัวปกคลุมมากที่สุด ปี พ.ศ. 2552 คือพื้นที่บริเวณอำเภอสัตหีบกระจาย ออกมาถึงบางละมุง ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ปี พ.ศ. 2557 คือ พื้นที่บริเวณกลางของภาคตะวันออก ได้แก่ พื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา และบริเวณเหนือของจังหวัดสระแก้ว ปีพ.ศ. 2562 พื้นที่ตอนเหนือของภาคตะวันออก ได้แก่ พื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่บางส่วนของจังหวัดฉะเชิงเทรา และด้านตะวันตกของจังหวัดสระแก้ว และอำเภอเมืองจันทบุรี (3) จากความสัมพันธ์ดังกล่าวในพื้นที่ ภาคตะวันออกมีการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งการสร้างโครงสร้างสีเขียว เช่น การปลูก ต้นไม้ตามเกาะกลางถนน พื้นที่สีเขียวแนวตั้ง และอื่น ๆth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectก๊าชเรือนกระจกth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์th_TH
dc.titleการวิเคราะห์ปรากฏการณ์เกาะความร้อนและก๊าชเรือนกระจกในการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeUrban Heat Island and Greenhouse effect in Eastern Seaboard Development of Thailanden
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailphattraporn@go.buu.ac.thth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeThe principal objectives of this research are (1) to classify land use in the Eastern Region of Thailand (2) to introduce and study the characteristic and factors of what effect to Urban Heat Island (UHI) phenomenon and to analyze the UHI situation in the Eastern Region ( 3) to introduce and study the characteristic and factors of what effect to greenhouse effect phenomenon and to analyze the greenhouse effect situation in the Eastern Region (4) to assess the effects of UHI and greenhouse effect. (5) to mode the relationship among UHI, Greenhouse gas, Climate Change and Land Use (6) to suggest and recommend the mitigation for UHI situation and greenhouse effect in Eastern region. This research uses a mixed method research with the combination of qualitative and quantitative methods, applied with the GIS method. The data and information are collected and analyzed by primary data - fields data collection; secondary data; the physical data from the satellite imagery study. The analyzed is mixed by qualitative and quantitative methods combined with geographic information technique, using satellite data from Landsat 5, 8 satellites. and GOSAT satellite in Chonburi, Rayong, Chachoengsao, Prachinburi, Chanthaburi, Trat and Sa Kaeo. Base on the finding, (1) there are a significant between LST and UHI of Eastern Region, urban and industrial areas was higher temperature when compared to the surrounding agricultural areas. These different temperatures cause the formation of UHI. The level of LST and UHI province increased to be the strongest in 5 provinces: Chon Buri, Prachin Buri, Sa Kaeo and Chachoengsao. (2) Greenhouse effect in Eastern region has the largest amount of CO2 gas as following: Year 2009 found in the area of Sattahip District spread out to Bang Lamung, Si Racha, Chon Buri Province; Year 2014 mostly found the central area of the region such as Prachin Buri Province. Chachoengsao and the northern area of Sa Kaeo Province; Year 2019, the northern region of the region is Prachinburi Province, some parts of Chachoengsao province and the western part of Sa Kaeo province, and Mueang Chanthaburi District. (3) one of the significant causes for the UHI and Greenhouse effect is the heat factor, so there are many mitigations in the area such as green infrastructure methods and techniques, there are many ways practice in the Eastern to green the city and improving the urban climate.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_314.pdf4.25 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น