กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3823
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธนัสถา รัตนะ | |
dc.contributor.author | อรรถพล เชยศุภเกตุ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2020-03-30T14:19:42Z | |
dc.date.available | 2020-03-30T14:19:42Z | |
dc.date.issued | 2562 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3823 | |
dc.description.abstract | ผิวของพลาสติก (polypropylene, polycarbonate and acrylonitrile butadiene styrene) ถูกปรับปรุงผิวด้วยลำพลาสมาที่ความดันบรรยากาศเพื่อประยุกต์ใช้งานเป็นผิวรองรับสำหรับการเคลือบอลูมิเนียม ผิวของผิวของพลาสติกถูกปรับปรุงผิวภายใต้เงื่อนไขที่ศึกษา 2 เงื่อนไข ดังนี้ (1) พลาสมาของอาร์กอนที่เวลาต่าง ๆ กัน (0-3 นาที) และ (2) แก๊สชนิดต่าง ๆ (แก๊สอาร์กอนและแก๊สอาร์กอนผสมออกซิเจน) ลักษณะเฉพาะของผิวผิวของพลาสติกที่ถูกปรับปรุงผิวถูกตรวจสอบด้วยกล้องจุลทรรศน์แรงอะตอม เครื่องเอกซเรย์โฟโตอิเล็กตรอนสเปกโทรสโกปี เครื่องฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์มอินฟราเรดสเปกโตรสโคปีและเครื่องวัดมุมสัมผัสหยดน้ำ การยึดเกาะของฟิล์มอลูมิเนียมบนผิวของพลาสติกถูกศึกษาด้วยวิธี cross-cut ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าผิวของพลาสติกที่ถูกปรับปรุงผิวด้วยพลาสมาจะปรากฎหมู่ฟังก์ชันที่มีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ เช่น C−O, C=O and O−C=O ซึ่งหมู่ฟังก์ขึ้นเหล่านี้สามารถเพิ่มสมบัติการชอบน้ำของผิวพลาสติกและปรับปรุงการยึดเกาะของฟิล์มอลูมิเนียมบนผิวของพลาสติก นอกจากนี้ลักษณะทางสัณฐานและความขรุขระที่ผิวของพลาสติกเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนเมื่อเวลาในการปรับปรุงผิวด้วยพลาสมาเพิ่มขึ้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยบูรพา ผ่านสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | พลาสมา | th_TH |
dc.title | การปรับปรุงผิวพลาสติกโดยเทคนิคลำพลาสมาที่ความดันบรรยากาศสำหรับประยุกต์เป็นวัสดุตกแต่ง | th_TH |
dc.title.alternative | Surface Modification of Plastics using Atmospheric Pressure Plasma Jet Technique for Decorative Applications | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | tanattha@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2562 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The surface of plastics (polypropylene, polycarbonate and acrylonitrile butadiene styrene) was treated by an atmospheric pressure plasma jet for using as a substrate in aluminium coating application. The plastic surfaces were treated under two studied conditions including (1) Argon plasma at different times (0-3 min) and (2) different gases (Argon and Argon/O2 gas mixture). The treated surface characteristics were investigated by atomic force microscopy (AFM), X-ray photoelectron spectroscopy (XPS), Fourier transform infrared spectroscopy (FTIR) and contact angle measurement. The adhesion of aluminium film on plastic surfaces was studied by a cross-cut test. The results showed that the oxygen-containing functional groups such as C−O, C=O and O−C=O on the plastic surface were observed after plasma treatment. These functional groups can enhance the hydrophilic property and improve the adhesion of aluminium film deposited on plastic surface. In addition, the morphology and roughness of plastic surface were dramatically changed as a function of plasma treatment time. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2563_317.pdf | 2.05 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น