กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/381
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัยth
dc.contributor.authorสุบัณฑิต นิ่มรัตน์th
dc.contributor.authorกาญจนา หริ่มเพ็งth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:47:31Z
dc.date.available2019-03-25T08:47:31Z
dc.date.issued2551
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/381
dc.description.abstractในการศึกษาครั้งนี้ทำการศึกษาฤทธ์ของสารสกัด พริก ขิง กระเทียมและขมิ้นด้วยสารละลายจำนวน 3 ชนิดคือ น้ำ เมทานอลและไดคลอโรมีเทนในการต้านแบคทีเรียชนิด Bacillus subtilis, Aeromonas aslmonicida, P. fluorescens และ Staphylococcus sciuri ที่แยกจากลำไส้ผิวหนัง เนื้อปลา และน้ำเชื้อปลาดุกอัฟริกัน เมื่อวิเคราะห์ด้วยวิธี disc diffusion พบว่าสกัด 4ชนิดที่สกัดด้วยเมทานอลยกเว้นกระเทียมสามารถยับยั้งเชื้อ P.fluorescens ได้ ดังนั้นจึงนำสารากัดด้วยเมทานอลทั้ง 4 ชนิด 3 ความเข้มข้น คือ 0.25, 0.5 และ 2.5 mg/ml มาทำการทดลองทดสอบการแช่แข็งน้ำเชื้อปลาดุกอัฟริกากันโดยเปรียบเทียบกับชุดความคุมที่ไม่มีการเติมและมีการเติมยาปฏิชีวนะชนิด penicillin – streptomycin 1 % พบว่าชุดการทดลองที่เติมยาปฏิชีวนะและชุดที่เติมสารสกัดขิงพบการเคลื่อนที่ของน้ำเชื้อของปลาดุกอัฟริกาได้สูงสุด คือ 37.78 ± 2.22 % และสามารถกำจัดแบคทีเรียกลุ่ม total he5terotroph ได้ทั้งหมดภายในการแช่แข็ง 90 วัน จากการทดลองในครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่าสารสกัดขิงด้วยเมทานอลความเข้มข้นที่ 2.5 mg/ml มีประสิทธิภาพในการทดแมนยาปฏิชีวนะเพื่อการเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาดุกอัฟริกันด้วยวิธีแช่แข็งth_TH
dc.description.sponsorshipเสนอต่อ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551.en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectน้ำเชื้อแช่แข็งth_TH
dc.subjectปลาดุกอัฟริกัน - - การขยายพันธุ์th_TH
dc.subjectปลาดุกอัฟริกัน - - น้ำเชื้อ - - การเก็บและรักษาth_TH
dc.subjectสารสกัดจากพืช - - การใช้ประโยชน์th_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการประยุกต์ใช้สมุนไพรในภาคตะวันออกเพื่อการเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาดุกอัฟริกันแบบแช่แข็งth_TH
dc.title.alternativeApplication of herb in estern part of Thailand for long-term cryopreservative of African catfish (clarias garieqinus) milten
dc.typeงานวิจัย
dc.year2551
dc.description.abstractalternativeChilli, ginger and curcuma were extracted with water, metanok, and dichloromethane, and tested for antimicrobial activities against Bacillus subtilis, Aeromonas aslmonicida, P. fluorescens และ Staphylococcus sciuri isolated from gastrointestinal tract, skin, fish meat and sperm milt of African (Clarias gariepinus). Using disk assays, the methanolic extract of all herbs tested except garlic exhibited the antimicrobial activity for P.fluorescens In a cryopreserved storage test , three different concentrations (0.25, 0.5 และ 2.5 mg/ml) of four methanolic extracts were supplemented ih fish semen, compared to the controls with or without 1% penicillin – streptomycin. The experiments showed that the controls with antibiotic supplementation and treatment with curcuma extracts represented the best performance in the highest percentage of sperm motility (37.78 ± 2.22 %) and total heterotrophic bacterial were completely removed within 90 days of experiments. Results concluded that methanolic extract of curuma (2.5 mg/ml ) represented the best efficiency for replacing antibiotic in cryopreservation of African catfish (Clarias gariepinus). Semen under chilled storage.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น