กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3799
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorดลชญา ธิติชัยกวิน
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สำนักงานอธิการบดีth
dc.date.accessioned2020-03-08T06:36:21Z
dc.date.available2020-03-08T06:36:21Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3799
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาปัจจัยและการพัฒนาการจัดระบบรักษาความปลอดภัย ภายในมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรีและเพื่อประเมินปัจจัย ที่ส่งผลต่อปัจจัยและการพัฒนาการจัดระบบรักษาความปลอดภัยภายในมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ประชากร นิสิต และผู้ปฏิบัติงาน ภายในมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่าง การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดระบบการรักษาความปลอดภัยอย่างมีประสิทธิภาพ ของนิสิตและผู้ปฏิบัติงาน ภายในมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ที่ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Sample Random Sampling) ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน (n) 381 คน ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถี่แสดงตารางแบบ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยและการพัฒนาการจัดระบบรักษาความปลอดภัย ภายใน มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างพบว่า เป็นเพศหญิง จำนวน 206 คน คิดเป็นร้อยละ 54.1 เพศชาย จำนวน 175 คน คิดเป็นร้อยละ 45.9 เป็นนิสิตระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 87.7ปริญญาโท คิดเป็นร้อยละ 10.8 และระดับปริญญาเอก 1.6 สถานภาพ นิสิต จำนวน 219 คน คิดเป็นร้อยละ 57.5 พนักงานมหาวิทยาลัย จำนวน 138 คน คิดเป็นร้อยละ 36.2 ข้าราชการ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 1.8 ลูกจ้างประจำ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.3 อื่น ๆ 12 คน คิดเป็น ร้อยละ 3.1 ส่วนงานตามลำดับคณะศึกษาศาสตร์ จำนวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 15.0 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 12.1 คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 9.7 และช่วงอายุระหว่าง 18-28 ปี จ านวน 261 คน คิดเป็นร้อยละ 68.5 ช่วงอายุระหว่าง 40-50 ปี จำนวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 15.0 อายุระหว่าง 29 ถึง 39 ปี จำนวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 12.9 ปัจจัยและการพัฒนาการจัดระบบรักษาความปลอดภัยภายในมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ โดยรวมและเป็นรายด้าน ในส่วนของด้านความปลอดภัยในการลดอุบัติเหตุ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และรายด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดผลวิเคราะห์การตอบ แบบสอบถาม และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยจำแนกตามรายข้อคือ ด้านความปลอดภัยในการ ลดอุบัติเหตุ พบว่าความเหมาะสมของระยะเวลาในการกำหนด ห้ามเข้าออกภายในมหาวิทยาลัย เวลา 22.00 ถึงเวลา 06.00 น. ต้องแลกบัตรอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และรายข้อความพร้อมในการบริหารจัดการที่จอดรถยนต์ภายในมหาวิทยาลัยบูรพามีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ผลวิเคราะห์การตอบแบบสอบถาม และค่าความเบี่ยงเบน โดยจำแนกตามรายข้อ คือ ด้านความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน พบว่าปัจจัยและการพัฒนาการจัดระบบรักษาความปลอดภัย ภายในมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี โดยจำแนกตามรายข้อ ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ความพร้อมในการ ปฏิบัติงานกฎจราจรภายในมหาวิทยาลัยบูรพาโดยภาพรวม เช่น มีการสวมหมวกนิรภัยอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และรายความเหมาะสมของการติดตั้งแสงสว่างภายในมหาวิทยาลัยบูรพา เพื่อ ความปลอดภัยมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ผลวิเคราะห์การตอบแบบสอบถาม และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยจำแนกตามรายข้อ คือ ด้านการนำเทคโนโลยีจัดระบบรักษาความปลอดภัย พบว่าปัจจัยและการพัฒนาการจัดระบบรักษาความปลอดภัย ภายในมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี โดยจำแนกตามรายข้อ ด้านการนำเทคโนโลยีจัดระบบรักษาความปลอดภัย การวางมาตรการการรักษาความปลอดภัยภายในมหาวิทยาลัยติดตั้งกล้อง วงจรปิด มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และการจัดการจราจรภายในมหาวิทยาลัย โดยใช้เทคโนโลยีมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ผลวิเคราะห์การตอบแบบสอบถาม ด้านการบริหารจัดการระบบรักษาความปลอดภัยและการจราจร จำแนกตามรายข้อ ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน พบว่าด้านการบริหารจัดการระบบรักษาความปลอดภัยและการจราจร มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และรายความเหมาะสมของภาพรวมในการจัดระบบเพื่อการรักษาความปลอดภัยประจำจุดมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด จากการประเมินปัจจัยที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุและเหตุการณ์ความปลอดภัยภายในมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี โดยวิธีการทดสอบค่าสถิติ โดยจำแนกตามรายด้าน คือ ด้านความปลอดภัยในการลดอุบัติเหตุ ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ด้านการนำเทคโนโลยีจัดระบบรักษาความ ปลอดภัย และด้านการบริหารจัดการระบบรักษาความปลอดภัยและการจราจรโดยรวมและเป็นรายด้าน เปรียบเทียบปัจจัยและการพัฒนาการจัดระบบรักษาความปลอดภัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณ แผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยบูรพา ผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectระบบความปลอดภัยth_TH
dc.titleปัจจัยและการพัฒนาการจัดระบบรักษาความปลอดภัยภายในมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors and development of security system in Burapha University, Chonburi Provinceen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emaildolchaya@buu.ac.thth_TH
dc.year2560th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_295.pdf2.23 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น