กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3785
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจันทิมา ปิยะพงษ์
dc.contributor.authorศศิธร มั่นเจริญ
dc.contributor.authorจิรารัช กิตนะ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2020-02-23T08:05:00Z
dc.date.available2020-02-23T08:05:00Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3785
dc.description.abstractการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสภาพเป็นตัวบ่งชี้ที่ดีของผลของมลพิษต่อสิ่งมีชีวิตที่ได้รับสารพิษและสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการบ่งชี้เพื่อแสดงถึงความเป็นพิษในเบื้องต้นได้ ซึ่งต่อมย่อยอาหารของหอยเป็นบริเวณที่สำคัญในการสะสมและการกำจัดสารพิษ ด้วยเหตุนี้การเปลี่ยนแปลงของต่อมย่อยอาหารของหอยจึงสามารถใช้เป็นตัวชี้วัดทางชีวภาพสำหรับการติดตามมลภาวะทางสิ่งแวดล้อมได้ จากการศึกษาการแพร่กระจายหอยเชอรี่ (Pomacea canaliculata) และหอยโข่ง (Pila spp.) จาก 10 พื้นที่อาศัยในเขตพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง ของภาคตะวันออกของประเทศไทยพบเฉพาะหอยเชอรี่ใน 6 พื้นที่อาศัยในขณะที่ไม่พบหอยโข่งเลย ผลการศึกษามิญชวิทยาของต่อมย่อยอาหารของหอยเชอรี่ที่ได้จาก 6 พื้นที่ดังกล่าวพบว่าไม่สามารถบ่งบอกความแตกต่างกันได้อย่างชัดเจนในพื้นที่ธรรมชาติ พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ชุมชนและพื้นที่อุตสาหกรรม รวมทั้งปริมาณโลหะหนัก 6 ชนิดได้แก่ ตะกั่ว แคดเมียม เหล็ก สังกะสี นิกเกิล และทองแดงในแหล่งน้ำจาก 10 พื้นที่อาศัยดังกล่าวทั้งหมดมีค่าต่ำกว่าค่ามาตรฐานที่กรมควบคุมมลพิษกำหนดเกณฑ์ไว้สูงสุดสำหรับน้ำผิวดิน ผลการศึกษานี้เป็นเพียงการศึกษาเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการวิจัยในห้องปฏิบัติการเพื่อ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการกินและมิญชวิทยาของระบบทางเดินอาหารของหอยเชอรี่และหอยโข่งที่ได้รับโลหะหนักในปีงบประมาณ 2561th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectโลหะหนักth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectมลพิษth_TH
dc.titleการแพร่กระจายและผลของโลหะหนักต่อพฤติกรรมการกินและมิญชวิทยาของระบบทางเดินอาหารของหอยเชอรี่ (Pomacea canaliculata) และหอยโข่ง (Pila spp.) ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกของประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeDistribution and effects of heavy metals on feeding behavior and histology of digestive system in Pomacea canaliculata) and Pila spp. in the Eastern region of Thailanden
dc.typeResearchth_TH
dc.year2561th_TH
dc.description.abstractalternativeHistopathological alteration is a good indicator of the effects of pollution on exposed organisms and provides an early indication of toxicity. The digestive gland of molluscs is the major site of pollutant accumulation and detoxification. Therefore, digestive gland alteration of molluscs can be used as a biomarker for monitoring environmental pollution. According to the survey of distribution of the apple snails (Pomacea canaliculata and Pila spp.) from 10 habitats in the Eastern Region of Thailand (Chachoengsao, Chonburi and Rayong provinces), only the invasive apple snails (P. canaliculata) were found in 6 out of 10 habitats whereas none of the native species was found. The histopathological result revealed that the digestive glands of P. canaliculata from these 6 habitats showed no clear difference among sites (forest, agriculture, industry and urban). Also, all heavy metals (Pb, Cd, Fe, Zn, Ni and Cu concentrations) were below the standard limits in all the habitats for surface water (Pollution Control Department). These results could be used as a guideline for investigating the relationship between feeding behavior and histopathology of digestive system in apple snails when exposing to heavy metal in the laboratory for fiscal year in 2561en
dc.keywordหอยเชอรี่th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_280.pdf1.54 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น