กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3784
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจันทิมา ปิยะพงษ์
dc.contributor.authorสยาม อรุณศรีมรกต
dc.contributor.authorเบญจวรรณ ชิวปรีชา
dc.contributor.authorรัชดา ไชยเจริญ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2020-02-23T03:52:11Z
dc.date.available2020-02-23T03:52:11Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3784
dc.description.abstractหอยเชอรี่ (Pomacea canaliculata) เป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานในประเทศไทยและเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้หอยโข่ง (Pila pesmei) ชนิดพันธุ์พื้นเมืองมีจำนวนลดลงโดย Enemy Release Hypothesis (ERH) ได้อธิบายถึงสาเหตุที่ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นประสบความสำเร็จในการแพร่กระจายและมีความชุกชุมในพื้นที่อาศัยต่างถิ่นในฐานะผู้รุกราน เนื่องจากไม่ได้ถูกควบคุมโดยศัตรูธรรมชาติในพื้นที่ส่งผลให้ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นมีโอกาสอยู่รอดที่สูงกว่าชนิดพันธุ์พื้นเมืองเพื่อเป็นการทดสอบ ERH งานวิจัยนี้ทำการศึกษาพฤติกรรมการกินพืชอาหาร จำนวน 2 ชนิด ที่มีอันดับอนุกรมวิธานในวงศ์เดียวกันคือผักตบชวา (Eichhornia crassipes) ซึ่งเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานและผักตบไทย (Monochoria hastata) ซึ่งเป็นชนิดพันธุ์พื้นเมืองเปรียบเทียบระหว่างหอยเชอรี่และหอยโข่งผลการวิจัยพบว่าหอยเชอรี่เลือกกินผักตบชวา (83.45±33.91%) และผักตบไทย (85.75±29.31%) มากกว่าหอยโข่ง (8.62±13.02% และ 8.70±15.65% ตามลำดับ) อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p< 0.05) ซึ่งผลการศึกษานี้ไม่เป็นไปตาม ERH เนื่องจากหอยโข่งเลือกกินพืชอาหารทั้งสองชนิดไม่แตกต่างกันth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectนิเวศวิทยาth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleนิเวศวิทยา พฤติกรรม และการประเมินสถานภาพของสัตว์น้ำท้องถิ่นเพื่อจัดทำรายการบัญชีแดง กรณีศึกษาในหอยโข่งพันธุ์พื้นเมือง (Pila spp.) ที่ถูกรุกรานโดยหอยเชอรี่ (Pomacea canaliculata) ในพื้นที่ชุ่มน้ำของจังหวัดจันทบุรีth_TH
dc.title.alternativeEcology, behavior and status assessment of native aquatic animals to provide on the IUCN red list: a case study between native apple snails (Pila spp.) and invasive apple snails (Pomacea canaliculata) in Wetlands, Chanthaburi Provinceคen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailchantimap@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailbenchawon@buu.ac.thth_TH
dc.year2561th_TH
dc.description.abstractalternativeGolden apple snails (Pomacea canaliculata) are invasive alien species in Thailand. They are a major cause of the decline in native apple snails (Pila pesmei). Enemy Release Hypothesis (ERH)has been used to explain the reason that invasive species had succeeded in spreading and more abundant on thenew habitat as invaders,by the exotic able to survive in new rankthat have no enemy regulation. This study aims to demonstrate the ERH by investigated the food preference behavior of the apple snails (P. canaliculata and P. pesmei) on invasive water hyacinth (Eichhornia crassipes) and native pondweed (Monochoria hastata), that had been same family intaxonomic rank.The results show P. canaliculata were consumed both water hyacinth (85.75 ± 29.31%) and pondweed (83.45 ± 33.91%) more than P. pesmei (8.62 ± 13.02%and 8.70 ± 15.65%, respectively) significantly (p< 0.05). Thus, the results do not accept the ERH due to the fact that P. pesmei had no different consumed on the both plants.en
dc.keywordหอยโข่งพันธุ์พื้นเมืองth_TH
dc.keywordหอยเชอรี่th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_279.pdf684.25 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น