กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3752
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | นวลศรี เด่นวัฒนา | |
dc.contributor.author | ณัฐพร ภักดี | |
dc.contributor.author | วันทนา สิงห์โต | |
dc.contributor.author | มาโนชญ์ ใจกว้าง | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ | |
dc.date.accessioned | 2020-01-31T06:26:24Z | |
dc.date.available | 2020-01-31T06:26:24Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3752 | |
dc.description.abstract | นวัตกรรมซอฟต์แวร์สำหรับควบคุมและติดตามการปฏิบัติงานของบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาต้นแบบการใช้งานเว็บแอปพลิเคชันในกระบวนการติดตามและประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากร กรณีศึกษาสถาบันอุดมศึกษาสองแห่ง ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี โดยนำมาใช้ในขั้นตอนการทำข้อตกลงก่อนถึงรอบการประเมิน การรายงานผลการดำเนินงานในแต่ละรายการประเมิน การประเมินตนเอง การคำนวณผลคะแนนประเมิน การอนุมัติผลคะแนนการประเมิน และการจัดทำรายงานผล การประเมินการปฏิบัติงาน รวมทั้งศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ในกการใช้เว็บแอปพลิเคชันที่ได้พัฒนาขึ้น ซอฟต์แวร์สำหรับควบคุมและติดตามการปฏิบัติงานของบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาขึ้นในรูปแบบของเว็บแอปพลิเคชันโดยใช้ภาษาพีเอชพี เอชทีเอ็มแอล ซีเอสเอส และจาวาสคลิป เชื่อมต่อกับ ระบบฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล ซึ่งขั้นตอนในการศึกษาได้ทำการจำลองฐานข้อมูลของบุคลากรใน สถาบันการศึกษาทั้งสองแห่งเพื่อทำการทดสอบ ซึ่งหลังจากที่ได้ทำการพัฒนาแล้ว ผู้วิจัยได้นำซอฟต์แวร์ ไปทดสอบกับบุคลากรซึ่งได้แก่ ผู้บริหาร บุคลากรสายวิชาการ และบุคลากรสายสนับสนุน พบว่าผู้ใช้งาน สามารถเรียนรู้การใช้งานได้แต่ยังขาดความชำนาญในการใช้งาน และเห็นว่าซอฟต์แวร์มีประโยชน์หากได้ นำมาใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานได้จริง จะสามารถช่วยให้ขั้นตอนของการดำเนินงานตั้งแต่ การรายงานผลการดำเนินงานในแต่ละรายการประเมิน การประเมินตนเอง การคำนวณผลคะแนนประเมิน การอนุมัติผลคะแนนการประเมิน และการจัดทำรายงานผลการประเมินการปฏิบัติงานใช้เวลาใน การดำเนินการน้อยลง อีกทั้งยังสามารถดูประวัติผลการประเมินย้อนหลังได้ และสามารถลดประมาณ การใช้กระดาษได้เนื่องจากมีการจัดเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูล อย่างไรก็ตามซอฟต์แวร์นี้เป็นซอฟต์แวร์ที่ จัดทำสำหรับการดำเนินงานให้เหมาะสมกับสถาบันการศึกษาซึ่งการจะนำไปประยุกต์ให้สามารถนำไปใช้งานได้จริงนั้น จะต้องมีการออกแบบโปรแกรมให้มีการเชื่อมโยงข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และแก้ไขระบบแวดล้อมให้สอดคล้องกับการนำโปรแกรมมาใช้งาน เพื่อมิให้เกิดผลกระทบกับระบบงานเดิมที่ใช้อยู่ ในปัจจุบัน | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2561 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.title | โครงการนวัตกรรมซอฟต์แวร์เพื่อการควบคุมและติดตามการปฏิบัติงานของบุคลากรในสถาบันการศึกษา เขตพื้นที่ภาคตะวันออก | th_TH |
dc.title.alternative | Software Innovation for control and monitoring staffs implementation in education institutes in the Eastern region of Thailand | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | nuansri@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | nuttaporn@go.buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | wantanasi@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | manotej@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2561 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aims to develop software innovation for controlling and monitoring academic staff working performance at institutions of higher education in the Eastern region of Thailand. The objective of the system is to propose the preliminary framework of monitoring and evaluating the performance of academic staff at institutions of higher education. The web application supports pre-performance evaluation process. The system features consist of checklists of assessments, self-assessment, assessment score calculation, assessment score approval and summary reports from assessments. Web development languages such as HTML, CSS, JavaScript and PHP were utilized in producing the web application. PHP framework was adopted which offers developers the ability to build more complex, secure and faster programs. MySQL was utilized for database management system. This experiment selected two institutes in the Eastern region of Thailand for a case study which were Faculty of Medicine Burapha University and School of Information Technology Sripatum University, Chonburi Campus. The system was tested by academic staff such as administrators, academic staffs and support staffs at the institutes. The satisfaction results found that the system was easy to learn and the software worked well to support monitoring and to evaluate work performance. Specific configuration and data transfers are required in order to deploy this software to the different institutes. | en |
dc.keyword | นวัตกรรมซอฟต์แวร์ | th_TH |
dc.keyword | เว็บแอปพลิเคชัน | th_TH |
dc.keyword | ฐานข้อมูลของบุคลากร | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2563_246.pdf | 8.43 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น