กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3739
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุชญา ผ่องใส
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2020-01-21T03:25:46Z
dc.date.available2020-01-21T03:25:46Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3739
dc.description.abstractโครงการวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาวิจัยเพื่อออกแบบและพัฒนาสารยับยั้งไมโครทูบูลชนิดใหม่ที่มีคุณลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น ที่มีความเจาะจงต่อเป้าหมายของยาต้านมะเร็งอย่างมีนัยสำคัญ มีความเป็นพิษต่อเซลล์ปกติต่ำมากอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเทียบกับกลุ่มยาเคมีบำบัดที่มีใช้อยู่ในปัจจุบัน โดยใช้ระเบียบวิธีทางเคมีคอมพิวเตอร์สำหรับการจำลองโครงสร้างโมเลกุล การคำนวณสมบัติทางฟิสิโคเคมิคัลและ ADMET ของสารอนุพันธ์ทั้งหมด และการทำโมเลกุลาร์ด็อกกิ้ง (Molecular docking) โดยใช้โปรแกรม Discovery Studio (DS2018) เพื่อคำนวณอันตรกิริยาระหว่าง ,B-ทูบูลิน กับสารอนุพันธ์ (Receptor-Ligand interactions) ภายในตำแหน่งเข้าจับ ผลการศึกษาวิจัยสามารถสรุปได้ดังนี้คือ กลุ่มสารอนุพันธ์ของโคลชิซิน ได้ผลลัพธ์จำนวน 5 สารอนุพันธ์ คือ C19R2, C19R3, Cs20R3, Cs20R2 และ C19R3 ที่มีความเจาะจงต่อโปรตีนเป้าหมายคือ ,B-ทูบูลิน มีความเสถียรสูงขึ้น และมีความเป็นพิษต่ำมากอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเทียบกับยาเคมีบำบัดคือ ดามาโคลชิซิน (DAMA-colchicine) ในขณะที่กลุ่มสารอนุพันธ์ของโนโคดาโซล ได้ผลลัพธ์จำนวน 6 สารอนุพันธ์ คือ Ns10R4, Ns4R1, Nme5R1, Nme5R4, Nme6R4 และ Nme6R1 ที่มีความเจาะจงต่อโปรตีนเป้าหมายคือ ,B-ทูบูลิน มีความเสถียรสูงขึ้น และมีความเป็นพิษต่ำมากอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเทียบกับยาเคมีบำบัดคือ โนโคดาโซล (Nocodazole)th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
dc.titleการออกแบบและพัฒนาสารยับยั้งไมโครทูบูลที่มีฤทธิ์ต้านมะเร็งสำหรับเคมีบำบัดth_TH
dc.title.alternativeDesign and Development of Microtubule Inhibitors as Anticancer Drugs for Chemotherapyen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailbusakorn@go.buu.ac.thth_TH
dc.year2561th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research project has been studied in order to design and develop the novel microtubule inhibitors, which perform prominent characteristics, interact as specific targeted drugs, and significantly lower toxicity compared to currently chemotherapeutic drugs. The computational methodology was used for molecular modelling, for physicochemical property and ADMET calculations of all generated derivatives, and for molecular docking simulation via Discovery Studio (DS2018) program in order to calculate the Receptor-Ligand interactions between ,-tubulin and drug derivatives, within the specific binding site. It can be concluded that, the group of Colchicine derivatives provided the 5 derivatives, i.e. C19R2, C19R3, Cs20R3, Cs20R2 and C19R3, which interact specifically with targeted protein, i.e. ,-tubulin, higher stability and significantly lower toxicity compared to chemotherapeutic drug DAMA-colchicine. Whilst the group of Nocodazole derivatives provided the 6 derivatives, i.e. Ns10R4, Ns4R1, Nme5R1, Nme5R4, Nme6R4 and Nme6R1, which interact specifically with targeted protein, i.e. ,-tubulin, higher stability and significantly lower toxicity compared to chemotherapeutic drug Nocodazole.en
dc.keywordเคมีบำบัดth_TH
dc.keywordมะเร็งth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_233.pdf2.72 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น