กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3728
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปิยะพร ณ หนองคาย | |
dc.contributor.author | จริยาวดี สุริยพันธุ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2020-01-06T06:46:40Z | |
dc.date.available | 2020-01-06T06:46:40Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3728 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการเตรียมและการดูดซับแอมโมเนียของเม็ดคอมโพสิตที่เตรียมได้จากอัลจิเนตและถ่านกัมมันต์ เพื่อประยุกต์ใช้เป็นวัสดุดูดซับในการกำจัดแอมโมเนียในน้ำ โดยเตรียมได้จากการหยดสารละลายผสมของโซเดียมอัลจิเนต โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) ทำหน้าที่เป็นสารสร้างรูพรุน F108 ทำหน้าที่เป็นสารลดแรงตึงผิว และผงถ่านกัมมันต์ ลงในสารละลาย ผสมระหว่างแคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2) และกรดแอซิติก จะทำให้ได้เม็ดคอมโพสิตที่มีลักษณะเป็นทรงกลม วิเคราะห์โครงสร้างทางเคมีด้วยเทคนิค ATR-FTIR วิเคราะห์ลักษณะทางสัณฐานวิทยาด้วยเทคนิค SEM ทดสอบความสามารถในการบวมในน้ำ และศึกษาการดูดซับแอมโมเนีย โดยศึกษาปัจจัย ที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการดูดซับแอมโมเนีย ได้แก่ ความเข้มข้นของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตความเข้มข้นของแคลเซียมคลอไรด์ ความเข้มข้นของ F108 และความเข้มข้นของผงถ่านกัมมันต์ พบว่าเม็ดคอมโพสิตชนิด ALGAC5% มีค่าประสิทธิภาพในการดูดซับแอมโมเนียสูงสุดเท่ากับ 6.88 มิลลิกรัม/กรัม เมื่อใช้สารละลายแอมโมเนียเข้มข้น 100 mg-N/L ที่พีเอชของสารละลายเท่ากับ 6 เวลาที่ใช้ในการดูดซับ 6 ชั่วโมง และจากการศึกษาไอโซเทอร์มการดูดซับ พบว่ามีความสอดคล้องกับแบบจำลองการดูดซับของแลงเมียร์ | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช | th_TH |
dc.title | ไฮโดรเจลคอมโพสิตของอัลจิเนตและผงถ่านกัมมันต์สำหรับประยุกต์ใช้เป็นวัสดุกำจัดแอมโมเนียในการขนส่งปลาสวยงาม | th_TH |
dc.title.alternative | Composite hydrogel of alginate and activated carbon for ammonia removal in ornamental fish transportation | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | piyapornn@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | jariyavadee@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2561 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aims to study on preparation and ammonia adsorption of alginate and activated carbon composite beads for ammonia removal application. The spherical composite beads were formed by dropping mixed solution of sodium alginate, porogen (NaHCO3), surfactant (F108) and activated carbon powder into the mixed solution of CaCl2 and CH3COOH. The chemical structure was characterized by ATR-FTIR. The morphology was characterized by SEM. The swellability and adsorption efficiency were also determined. The effects of NaHCO3, CaCl2, F108 and activated carbon on ammonia adsorption were demonstrated in terms of adsorption capacity (mg/g) and %removal efficiency. The ALGAC5% beads showed the maximum adsorption capacity of 6.88 (mg/g) at 100 mg-N/L of ammonia concentration, pH 6 and 6 h of incubration time. The adsorption isotherm of these composite beads was fitted with Langmuir model. | en |
dc.keyword | ปลาสวยงาม | th_TH |
dc.keyword | ผงถ่านกัมมันต์ | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2563_222.pdf | 9.02 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น