กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3703
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ไกรยศ แซ่ลิ้ม | |
dc.contributor.author | ศุภศิลป์ มณีรัตน์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว. คณะเทคโนโลยีการเกษตร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. คณะอุตสาหกรรมเกษตร | |
dc.date.accessioned | 2019-10-15T02:33:52Z | |
dc.date.available | 2019-10-15T02:33:52Z | |
dc.date.issued | 2562 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3703 | |
dc.description.abstract | Weissella confusa NH02 เป็นแบคทีเรียแลกติกที่แยกได้จากไส้กรอกอีสาน และสามารถ ผลิตเอ็กโซโพลีแซคคาไรด์ อีกทั้งยังเป็นเชื้อที่ต้องการสารอาหารหลากหลายซึ่งมีราคาแพงต่อการเจริญ ดังนั้นจุดประสงค์ของการทดลองในครั้งนี้คือการหาสภาวะที่เหมาะสมโดยใช้แหล่งอาหารราคา ถูกในการผลิตเอ็กโซโพลีแซคคาไรด์จากเชื้อ W. confuse NH02 โดยใช้วิธีทากูชิ และวิธีพื้นผิวตอบสนองจากการทดลองแบบ Central Composite Design (CCD) จากการใช้วิธีทากูชิในการหา สภาวะที่เหมาะสมในการผลิตเอ็กโซโพลีแซคคาไรด์จากเชื้อ W. confuse NH02 ซึ่งมีปัจจัยทั้งหมด 4 ปัจจัย ได้แก่ แหล่งคาร์บอนหลัก แหล่งคาร์บอนเสริม แหล่งไนโตรเจน และพีเอช ผลการออกแบบ โดยใช้ L9 orthogonal array พบว่า ปัจจัยที่มีความสําคัญต่อผลิตเอ็กโซโพลีแซคคาไรด์จากเชื้อ W. confuse NH02 คือ แหล่งคาร์บอนหลัก และแหล่งไนโตรเจน จากการวิเคราะห์ค่า signal to noise (S/N) พบว่าสภาวะที่เหมาะสมต่อผลิตเอ็กโซโพลีแซคคาไรด์จากเชื้อ W. confuse NH02 ประกอบด้วยน้ำอ้อย กากน้ำตาล กากถั่วเหลือง และพีเอชเท่ากับ 6.0 ภายใต้สภาวะที่เหมาะสมนี้ สามารถทํานายการผลิตเอ็กโซโพลีแซคคาไรด์ได์เท่ากับ 5.94 กรัมต่อลิตร การศึกษาหาสภาวะที่ เหมาะโดยวิธีพื้นผิวตอบสนอง โดยมีปัจจัยทั้งหมด 3 ปัจจัย ได้แก่ กากน้ำตาล กากถั่วเหลือง และ อุณหภูมิ พบว่า สภาวะที่เหมาะสมต่อผลิตเอ็กโซโพลีแซคคาไรด์จากเชื้อ W. confuse NH02 ประกอบด้วย กากน้ำตาลความเข้มข้น 43.65 กรัมต่อลิตร กากถั่วเหลืองความเข้มข้น 1.87 กรัมต่อ ลิตร และบ่มที่อุณหภูมิ 39.64 องศาเซลเซียส ภายใต้สภาวะที่เหมาะนี้สามารถทํานายการผลิตเอ็กโซ โพลีแซคคาไรด์ได้เท่ากับ 30.34 กรัมต่อลิตร และได้ปริมาณเซลล์เท่ากับ 5.33 กรัมต่อลิตร | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว | th_TH |
dc.subject | กากถั่วเหลือง | th_TH |
dc.subject | กากน้ำตาล | th_TH |
dc.title | การผลิตเอ็กโซโพลีแซคคาไรด์จากเชื้อ Weissella confusa NH02 โดยใช้แหล่งอาหารราคาถูก | th_TH |
dc.title.alternative | Production of Exopolysaccharide from Weissella confusa NH02 using Low-Cost Raw Materials | en |
dc.type | Research | |
dc.author.email | kriyot@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | suppasil.m@psu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2562 | |
dc.description.abstractalternative | Weissella confusa confuse NH02 isolated from Thai fermented sausages is one of the lactic acid bacteria that can produce exopolysaccharides (EPS). They require several growth factor for bioactivity which are expensive nutrients. Thus, the objective of this study was to investigate the optimum parameter from alternative low-cost substrates for the EPS production by W. confuse NH02 using Taguchi method and using Central Composite Design (CCD) and Response Surface Methodology (RSM). Taguchi experimental design technique was used to optimize the EPS production by W. confuse NH02. Four factors including major and minor carbon sources, nitrogen source and pH were investigated. Results of Taguchi design L9 orthogonal array showed that the most important parameter are a major carbon and nitrogen source. Based on signal to noise (S/N) analysis, the optimal conditions for EPS production by W. confuse NH02 were evaluated as follows: sugar cane juice, molasses, soybean meal and pH 6.0. Under optimum conditions the predicted maximum EPS production was 5.94 g/L. Three factors including molasses, soybean meal and temperature were subsequently optimized using RSM technique. The maximum EPS production was optimized for conditions like molasses (43.65 g/L), soybean meal (1.87 g/L) and incubated at 39.64 ºC using RSM. Under optimum conditions the predicted maximum EPS production was 30.34 g/L, while biomass yield was 5.33 g/L. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2563_195.pdf | 3.81 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น