กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3701
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ณัฐนนท์ ลีลาตระกูล | |
dc.contributor.author | ภารุจ รัตนวรพันธุ์ | |
dc.contributor.author | คนึงนิจ กุโบลา | |
dc.contributor.author | สุนิสา ริมเจริญ | |
dc.contributor.author | สุภาวดี ศรีคำดี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. คณะวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-10-15T01:48:42Z | |
dc.date.available | 2019-10-15T01:48:42Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3701 | |
dc.description.abstract | การลอกเลียนวรรณกรรม (Plagiarism) ถือเป็นการทำผิดทางจริยธรรมที่ร้ายแรง หากไม่มีการ ป้องกันหรือตรวจจับที่ดีแล้ว งานสร้างสรรค์ใหม่ ๆ จะเกิดขึ้นน้อย ทำให้เป็นปัญหาต่อการศึกษาและการ วิจัยของประเทศ การจัดการเรียนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมก็ประสบปัญหานี้อย่างมาก กล่าวคือ นักเรียนมีแนวโน้มที่จะแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีการที่ง่ายที่สุดคือ การคัดลอกโปรแกรมของเพื่อนแล้วมา ส่งอาจารย์ ปัญหานี้จะต้องรีบถูกแก้ไข เพื่อไม่ให้เยาวชนของชาติประพฤติตนไปในทางที่ไม่เหมาะสม ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงนำเสนอวิธีการระบุต้นตอของการลอกเลียนซอร์สโค้ด เพื่อให้ทราบถึงแหล่งที่มาของการลอก โปรแกรมในกลุ่มนักเรียนนักศึกษา และเมื่ออาจารย์ผู้สอนทราบว่านักเรียนคนใดเป็นต้นฉบับ คนใดที่เป็นคนลอกเพื่อนมาส่งอาจารย์จะได้วางแนวทางและมาตรการแก้ไข ตักเตือน และแก้ปัญหาได้ตั้งแต่ต้น งานวิจัยนี้ได้นำเสนอขั้นตอนวิธีในการระบุต้นฉบับของซอร์สโค้ดโดยใช้กฎที่สร้างขึ้นจากขั้นตอนวิธีเชิงวิวัฒนาการ แบบ mu+lambda การหาต้นฉบับเริ่มจากสร้างต้นไม้ แสดงวิวัฒนาการของการคัดลอกซอร์สโค้ดด้วย วิธีการหาต้นไม้แผ่ทั่วแบบค่าน้ำหนักรวมมากที่สุด (Maximum spanning tree) แล้วจึงใช้กฎที่นำเสนอเพื่อ ระบุทิศทางของลูกศรในต้นไม้เพื่อแสดงลำดับการสืบทอด จากการทดลองพบว่ากฎที่ได้จากขั้นตอนวิธีที่นำเสนอมีความถูกต้องในการระบุต้นฉบับ 90.24% | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การลอกเลียนวรรณกรรม | th_TH |
dc.subject | การคัดลอกโปรแกรม | th_TH |
dc.subject | สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ | |
dc.title | การสร้างกราฟแสดงวิวัฒนาการของซอร์สโค้ด ในระบบตรวจจับการลอกเลียนซอรส์โค้ด | th_TH |
dc.type | Research | |
dc.author.email | nutthanon@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | paruj.r@ku.ac.th | th_TH |
dc.author.email | kubola@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | rsunisa@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | srikamdee@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2561 | |
dc.description.abstractalternative | Plagiarism is deemed a serious ethical offense. Without proper protection and accurate detection algorithms, the number of innovations would significantly dwindle, impeding the advancement of nation research and education. Especially in programming courses, plagiarism is extremely common. Most students tend to do their homework in the simplest way: copying the source code of others. Such unpleasant issue must be addressed to preclude this misbehavior before it becomes students’ habit, and to promote positive attitude in our juveniles. In this paper, we, therefore, propose an algorithm to identify original source codes, helping instructors to pinpoint whom to monitor and be able to set measures or correctly warn each wrong-doing student. This work introduces a rule, derived from a mu+lambda evolutionary algorithm, for identifying which source codes are original. First, we run the maximum spanning tree algorithm to generate a phylogenetic tree, representing the relationships and sequences of plagiarisms. Then, we apply our proposed rule to identify the source and its copies, whose relations are represented by arrows’ directions. The experiment result shows that the proposed rule yields the accuracy of 90.24%. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2563_191.pdf | 3.18 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น