กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3699
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ผาณตา เอี้ยวซิโป | |
dc.contributor.author | เอกรัฐ ศรีสุข | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-10-15T01:23:07Z | |
dc.date.available | 2019-10-15T01:23:07Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3699 | |
dc.description.abstract | จากงานวิจัยก่อนหน้าที่แสดงให้เห็นถึงฤทธิ์ในการต้านมะเร็งของสารสกัดเอทานอลจากเหงาเร่วหอมและพบสาร 4-methoxycinnamaldehyde (4-MCA) เป็นหนึ่งในสารออกฤทธิ์นั้น นํามาสู่การทดสอบฤทธิ์การต้านมะเร็งดื้อยาของสารทั้งสองในงานวิจัยชิ้นนี้ เนื่องจากปัญหาการรักษาโรคมะเร็งในปัจจุบัน ด้วยยาเคมีบําบัดที่ไม่ประสบความสําเร็จ สวนหนึ่งพบว่าเกิดจากการที่เซลล์มะเร็งเกิดการพัฒนาตัวเองให้ดื้อต่อยาเคมีบําบัดหลังได้รับยาต่อเนื่องเป็นระยะเวลาหนึ่ง ในงานวิจัยชิ้นนี้ ผู้วิจัยไดทําการพัฒนาเซลล์มะเร็งดื้อยาขึ้นมา 2 ชนิด ได้แก่ เซลล์มะเร็งเต้านม MDA-MB-231 ที่ดื้อต่อยา doxorubicin (MDA-MB-231/DoxR) และเซลล์มะเร็งปากมดลูก C33A ที่ดื้อต่อยา cisplatin (C33A/CisR10) ซึ่งมีค่าดัชนีการดื้อยาของเซลล์มะเร็ง (resistance index, RI) เมื่อเทียบกับเซลล์มะเร็งตั้งต้น เท่ากับ 1.36 และ 2.37 ตามลําดับ ผลจากการทดสอบ ความมีชีวิตรอดของเซลล์หลังได้รับสารทดสอบเป็นเวลา 72 ชั่วโมง ด้วยวิธี MTT พบวาสารสกัดเอทานอลจากเหงาเร่วหอมและสาร 4-MCA สามารถยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งที่ดื้อยาทั้งสองชนิดได้ ในลักษณะที่ขึ้นกับความเข้มข้นเช่นเดียวกันกับผลที่พบในเซลล์มะเร็งตั้งต้น โดยมีค่า IC50 ของสารสกัดเอทานอลต่อเซลล์มะเร็ง MDA-MB-231/DoxR เท่ากับ 357.90±53.62 µg/mL และเซลล์มะเร็ง C33A/CisR10 เท่ากับ 246.4±9.03 µg/mL ในขณะที่สาร 4-MCA มีคา IC50 ต่อเซลล์มะเร็ง MDA-MB-231/DoxR เท่ากับ 108.67±1.15 µM และเซลล์มะเร็ง C33A/CisR10 เท่ากับ 65.50±1.50 µM ซึ่งกลไกในการยับยั้งเซลล์มะเร็ง ดื้อยาของสารทั้งสองจะถูกทําการทดสอบต่อไป | |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | เร่วหอม | th_TH |
dc.subject | เซลล์มะเร็ง | th_TH |
dc.title | ผลของสารสกัดและสารบริสุทธิ์จากเหง้าเร่วหอมต่อเซลลมะเร็งที่ดื้อยา | th_TH |
dc.title.alternative | Effect of extract and pure compound from Etlingera pavieana rhizome on chemoresistant cancer cell lines | en |
dc.type | Research | en |
dc.author.email | panata@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | ekaruth@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2560 | |
dc.description.abstractalternative | Previous study, we reported the anti-cancer effect of ethanolic extract of Etlingera pavieana (Pierre ex Gagnep.) R.M. Sm. rhizome (EE) and identified 4methoxycinnamaldehyde (4-MCA) as one of bioactive compounds. Since the acquired drug resistance of cancer cells after chemotherapy is one cause of treatment failures, in this study, the EE and 4-MCA were thus examined for their anti-proliferative effect on drugresistant cancer cells. We established two types of drug-resistant cancer cells, doxorubicinresistant breast cancer cell (MDA-MB-231/DoxR) and cisplatin-resistant cervical cancer cell (C33A/CisR10). When compared to the parental cancer cells, MDA-MB-231/DoxR and C33A/CisR10 cells showed the resistance index (RI) of 1.36 and 2.37, respectively. MTT results demonstrated dose-dependent reduction of viability of both resistant cancer cells treated with EE with the IC50 values of 357.90±53.62 µg/mL against MDA-MB-231/DoxR and 246.4±9.03 µg/mL against C33A/CisR10 cells. With the same manner, 4-MCA also exhibited the anti-proliferative effect in those cell lines with the IC50 values of 108.67±1.15 µM and 65.50±1.50 µM, respectively. The mechanism of EE and 4-MCA on this action is under investigated. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2563_199.pdf | 1.88 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น