กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3693
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorณัฎฐิณี ธีรกุลกิตติพงศ์
dc.contributor.authorภักดี สุขพรสวรรค์
dc.contributor.authorจักริน สุขสวัสดิ์ชน
dc.contributor.authorศศิธร กิจจารุวรรณกุล
dc.contributor.authorธัญญรัตน์ เหมือนประสาท
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะเภสัชศาสตร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.date.accessioned2019-10-07T03:31:01Z
dc.date.available2019-10-07T03:31:01Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3693
dc.description.abstractยาแผนปัจจุบันในรูปแบบเม็ดและแคปซูลมีจำนวนมาก ส่งผลให้เกิดการสับสนต่อความสามารถ ในการจำแนกแยกแยะประเภทและชนิดของยา โดยเฉพาะยากลุ่มระงับปวด (analgesic drugs) และยากลุ่มปฏิชีวนะ (antibiotic drugs) ผู้เชี่ยวชาญจะต้องอาศัยประสบการณ์และความสามารถในการจดจำ ในการพิสูจน์เอกลักษณ์ยาเม็ดเพื่อระบุว่ายาดังกล่าวเป็นยาตัวใดและอาจส่งผลทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการใช้ยาได้ง่าย การพัฒนาฐานข้อมูลระบบสารสนเทศเภสัชกรรมภาพด้วยภาพดิจิตอล 3 มิติ แบบแสดงผลภาพเสมือนจริงในแง่ด้านการพิสูจน์ยาเม็ดและยาแคปซูลที่มีจำหน่ายในประเทศไทยเป็นแนวทางที่เหมาะสมสำหรับการลดความคลาดเคลื่อนในการระบุชนิดของยา การออกแบบเครื่องมือช่วยเหลือการ พิสูจน์อัตลักษณะของยาเม็ดและแคปซูลด้วยการใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วยภาพช่วยเพิ่มช่องทางในการช่วยตัดสินใจให้แก่เภสัชกรในการระบุบ่งชี้ยาได้อย่างถูกต้อง ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ออกแบบระบบสารสนเทศทางเภสัชกรรมในการพิสูจน์เอกลักษณ์ทางยา (drugs identification) ตลอดจนข้อมูลจากโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตยา โดยทำการรวบรวมภาพดิจิตอล ทั้งรูปแบบ 2 มิติและ 3 มิติ และข้อมูลอ้างอิงตามหนังสือ MIMs Thailand และ Drug Information handbook ของยาปฏิชีวนะจำนวน 120 ตัวอย่าง และทำการจัดเก็บด้วยฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ (Relational Database) จากการศึกษาพบว่า ยาปฏิชีวนะส่วนใหญ่อยู่ในรูปแคปซูล (Capsule) (ร้อยละ 50.83) ยาเม็ดเคลือบฟิล์ม (Film-coated tablet: FC tablet) (ร้อยละ 44.17) ยาเม็ด (Tablet) (ร้อยละ 4.17) เม็ดยาตัวอย่างที่ไม่มีตัวอักษร/ สัญลักษณ์บนเม็ดยาหนึ่งด้าน (ร้อยละ 32.5) เม็ดยาตัวอย่างที่มีตัวอักษร/ สัญลักษณ์บนเม็ดยา หนึ่งด้าน (ร้อยละ 16.67) เม็ดยาตัวอย่างที่มีตัวอักษร/ สัญลักษณ์บนเม็ดยาสองด้าน (ร้อยละ 50.83)th_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectยาเม็ดth_TH
dc.subjectยาปฏิชีวนะth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบจำลองเภสัชสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจโดยใช้ฐานข้อมูลภาพดิจิตอล 3 มิติ พิสูจน์เอกลักษณ์ของยารูปแบบเม็ดและแคปซูลในประเทศไทย: ยาปฎิชีวนะth_TH
dc.title.alternativeDrug Identification with optimization modeling by Novel digital 3D Imaging Analysis: Antibiotics Drugsen
dc.typeResearch
dc.author.emailnuttinee@go.buu.ac.thth_TH
dc.author.emailphakdee@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailjakkarin@informatics.buu.ac.thth_TH
dc.author.emailsiriwara@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailthanyarat.0295@gmail.comth_TH
dc.year2562
dc.description.abstractalternativeIn Thailand, the most modern medicines are tablets and capsule. The problem due to confusion of ability is to identify a kind and generic name of each drugs, especially analgesic drugs and antibiotic drugs. Experts must rely on the experience of recognizing and identity of the drugs causing difficulty identify type and problem errors in use of medicine. The development of a database of 2D and 3D digital image and information pharmacy data systems for identifying tablets and capsules in Thailand is an alternative way to reduce errors in the identification of generic drug types. Designing image processing tools may improve characteristics of tablets and capsules that help pharmacists to increase determining local made medication correctly. The purpose of this study is to design pharmaceutical information and pharmaceutical manufacturing industry systems for drug identification. Collecting 120 samples 2D, 3D digital images and data references from MIMs Thailand and Drug Information handbook of antibiotics in a relational database. After studying, all ramdomizing sample of antibiotics found that the most drugs are in capsules (50.83%), film-coated tablets (FC tablets) (44.17%), tablets (4.17%), samples have characteristics/symbols on one side of the pill (67.5%), sample tablets with characteristics/symbols on one side of tablets (16.67%). Sample tablets with characteristics/symbols on two-sided tablets (50.83%)en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_173.pdf6.89 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น