กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3679
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorถิรพิทย์ สุบงกช-
dc.date.accessioned2019-10-01T08:18:02Z-
dc.date.available2019-10-01T08:18:02Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3679-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาไมโครอิมัลชันชนิดใหม่ที่มีดีอัลฟาโทโคฟีริลโพลิเอทิลีนไกลคอล 1000 ซัคซิเนท (วิตามินอีทีพีจีเอส) เป็นสารลดแรงตึงผิว เพื่อเพิ่มการดูดซึมของเซเลโคซิบโดยการรับประทานและเพื่อศึกษากลไกการดูดซึมผ่านลําไส้ของไมโครอิมัลชันโดยการวัดค่าทรานส์อิพิเทเลียลอิเลคทริคัลรีซิสแทนท์ (transepithelial electrical resistance, TEER) การศึกษานี้ยังได้ศึกษาปฏิกิริยาระหว่างอนุภาคไมโครอิมัลชันและลําไส้ในแง่ของกระบวนการปลดปล่อยและการเข้าสู่เนื่อเยื่อโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ชนิดส่องกราดด้วยแสงเลเซอร์ ไมโครอิมัลชันที่เตรียมได้ได้รับการตรวจสอบขนาดอนุภาค ประจุพื้นผิว รูปร่าง การปลดปล่อย การดูดซึมผ่านลําไส้และความเป็นพิษต่อเยื่อบุลําไส้ พบว่าอนุภาคไมโครอิมัลชันที่เตรียมได้มีรูปร่างกลม มีขนาดไม่เกิน 300 นาโนเมตรและมีประจุเป็นกลาง การปลดปล่อยเซเลโคซิบจากไมโครอิมัลชันเป็นจลนศาสตร์อันดับศูนย์ ไมโครอิมัลชันนี้สามารถเพิ่มการดูดซึมของเซเลโคซิบได้อย่างมีนัยสาํคัญ จากการศึกษาโดยกล้องจลุทรรศน์ชนิดส่องกราด ด้วยแสงเลเซอร์สันนิษฐานว่าอนุภาคไมโครอิมัลชันที่มีตัวยากักเก็บสัมผัสกับเยื่อบุลําไส้ก่อนจะมีการปลดปล่อยตัวยาออกมา ค่า TEER ของเยื่อบุลําไส้ที่ได้รับการทดสอบด้วยไมโครอิมัลชันมีค่าลดลงอย่างมีนัยสําคัญเมื่อเทียบกับก่อนการทดสอบ ซึ่งชี้ให้เห็นถึงการเพิ่มการแพร่ผ่านตัวยาโดยการขนส่งผ่านช่องว่างระหว่างเซลล์ (paracellular pathway) การประเมินความเป็นพิษต่อเยื่อบุลําไส้ของไมโครอิมัลชันที่มีเซเลโคซิบพบว่าไม่แตกต่างจากตัวทําละลายที่รับประทานได้ (PEG 400)th_TH
dc.description.sponsorshipสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.titleการพัฒนาและศึกษากลไกของไมโครอิมัลชันชนิดใหม่เพื่อเพิ่มการดูดซึมยาเซเลคอกซิบ โดยการรับประทานth_TH
dc.title.alternativeDevelopment and mechanism study of novel microemulsion for oral absorption enhancement of celecoxibth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailtitanicto@hotmail.comth_TH
dc.year2561th_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to develop a novel microemulsion that contains D-α-tocopheryl polyethylene glycol 1000 succinate (vitamin E TPGS) as a surfactant to increase the oral absorption of celecoxib and to investigate the intestinal absorption enhancement mechanism of this microemulsion by measuring transepithelial electrical resistance (TEER) values. This study also evaluated microemulsion particle-intestine interactions in terms of release and attachment processes using confocal laser scanning microscopy (CLSM). The prepared microemulsion was evaluated for its particle size, shape, zeta potential, in vitro release, in vitro intestinal absorption and intestinal membrane cytotoxicity. The obtained microemulsion particles were spherical in shape with a size of less than 300 nm and a neutral surface charge. The in vitro release of the celecoxib-loaded microemulsion was best fit with the zero-order model. This microemulsion significantly improved the intestinal absorption of celecoxib. The CLSM study suggested that microemulsion particles with entrapped drugs might attach to the intestinal epithelium before releasing the entrapped drug into tissues. The TEER value of the intestinal tissues treated with the celecoxib-loaded microemulsion was significantly decreased compared to the value before treatment, indicating an increase in drug transport via the paracellular pathway. The intestinal membrane cytotoxicity of the celecoxib-loaded microemulsion did not differ from that of an edible solvent (PEG 400).th_TH
dc.keywordสารลดแรงตึงผิวth_TH
dc.keywordจลนศาสตร์th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_171.pdf595.57 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น