กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3671
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorยุภาพร สมีน้อย
dc.contributor.authorอนันต์ อธิพรชัย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-09-26T03:52:25Z
dc.date.available2019-09-26T03:52:25Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3671
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการรายงานการใช้อุปกรณ์แบบกระดาษเป็นแพลทฟอร์มอย่างง่าย ราคาถูก และให้การตรวจวัดที่รวดเร็ว สำหรับการหาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและปริมาณฟีนอลิกรวมทั้งหมดพร้อมกันใน ตัวอย่างอาหาร นำวิธี ABTS และ CUPRAC และวิเคราะห์ปริมาณฟีนอลิกรวมทั้งหมดด้วยวิธี FC มาทดสอบพร้อมกันเพื่อเป็นการพิสูจน์แนวคิดดังกล่าว อุปกรณ์ประกอบด้วยบริเวณใส่ตัวอย่างตรงกลางเชื่อมต่อกับบริเวณตรวจวัดทั้งสี่โดยมีสามบริเวณสำหรับตรวจวัดฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสามวิธีและอีกหนึ่งบริเวณเป็นการตรวจวัดแบลงค์ตัวอย่าง การวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระทำโดยหยดสารละลายตัวอย่างบริเวณใส่ตัวอย่างเพื่อให้ไหลไปทำปฏิกิริยากับรีเอเจนท์ของแต่ละวิธีซึ่งได้มีการบรรจุไว้แล้วบนบริเวณตรวจวัดทำให้มีสีที่เปลี่ยนไปซึ่งสามารถวัดได้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์อิมเมจเจ ทำการศึกษาสภาวะที่เหมาะสม ได้แก่ ความเข้มข้นของรีเอเจนท์ เวลาในการเกิดปฏิกิริยาและปรับปรุงพื้นผิว เพื่อให้ได้การวิเคราะห์ที่มีความไวสูง และช่วงความเป็นเส้นตรงกว้าง จากนั้นศึกษาการตรวจวัดสารต้านอนุมูลอิสระมาตรฐานหลากหลายชนิด เพื่อตรวจสอบคุณลักษณะการวิเคราะห์ของวิธีที่พัฒนาขึ้น นำอุปกรณ์ที่พัฒนาขึ้นไปตรวจวัดฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและปริมาณฟีนอลิกรวมทั้งหมดในตัวอย่างเครื่องดื่ม 10 ชนิดพบว่า ได้ค่าสมมูลกรดแกลลิกที่ใกล้เคียงกับค่าที่ได้จากการตรวจวัดด้วยวิธีตรวจวัดแบบดั้งเดิมที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ยิ่งไปกว่านั้น ค่าสมมูลกรดแกลลิกที่ได้จากวิธีวิเคราะห์ทั้งสามบนอุปกรณ์แบบกระดาษยังมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันโดยให้ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แบบเพียรสันที่สูง ผลการทดลองดังกล่าวชี้ให้เห็นว่าวิธีที่พัฒนาขึ้นให้การวิเคราะห์ที่แม่นยำและเหมาะสมที่จะนำไปวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและปริมาณฟินอลิกรวมพร้อมกันได้th_TH
dc.description.sponsorshipสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.titleการพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวัดแบบกระดาษสำหรับการวิเคราะห์แบบหลายวิธีเพื่อการวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระแบบรู้ผลรวดเร็วในอาหารและผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of multi-assay paper-based devices for high throughput analysis of antioxidant activity in foods and natural productsen
dc.typeงานวิจัย
dc.author.emailyupaporn@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailanana@buu.ac.thth_TH
dc.year2560
dc.description.abstractalternativeThe first use of a paper-based device as a simple, low-cost and rapid detection platform for simultaneous determination of antioxidant activity and total phenolic content in food samples has been reported in this work. Two antioxidant activity assays including 2,2′-azino-bis(3-ethylbenzthiazoline- 6-sulphonate) radical cation (ABTS) assay and cupric reducing antioxidant capacity (CUPRAC) assay and one total phenolic content assay, Folin Ciocaltue reagent (FC) assay were simultaneously employed as a proof-of-concept. The device composed of a central sample zone connected to four pretreatment zones and consecutive detection zones to accommodate all three assays and a sample blank measurement. The analysis was achieved by dropping the samples onto the sample zone to flow to the pretreatment and detection zones containing the stored reagents for each antioxidant assay making the color change that was measured using imageJ software. Assay optimization including key reagent concentrations, reaction time, and surface modification were carried out to obtain sensitive and wide linear rage analyses. Various antioxidant standards were then evaluated to determine the analytical features of the method. The paper-based assays were successfully applied to detect antioxidant activity and total phenolic content in 10 beverage samples with similar gallic acid equivalent (GAE) values to those obtained from traditional assays at a 95% confidence interval. Moreover, the GAE values of the samples obtained from three assay analyses were well correlated to each other with relatively high Pearson’s correlation coefficients. These results indicated that the assays gave accurate results and are suitable for simultaneous analysis of antioxidant activity and total phenolic content in real samplesth_TH
dc.keywordอนุมูลอิสระth_TH
dc.keywordฟีนอลิกth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_188.pdf3.03 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น