กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3657
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | บุญดิศย์ วงศ์ศักดิ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะเภสัชศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-07-30T01:34:48Z | |
dc.date.available | 2019-07-30T01:34:48Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3657 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยชิ้นนี้ได้ทำการศึกษาสารสกัดจากพืชหายากในบริเวณศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จ.จันทบุรี ได้แก่ หลุมพอทะเล (Intsia bijuga) และพังกาดอกช่อ (Bruguiera hainesii) โดยเลือกศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH, ABTS, FRAP และ Lipid peroxidation (TBARS) หา องค์ประกอบประกอบทางพฤกษเคมี รวมทั้งศึกษาดูความหลากหลาย ทางพันธุกรรมด้วยเทคนิค ISSR จากการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระพบว่า สารสกัดใบจากพืชทั้ง 2 มีฤทธิ์ยับยั้งอนุมูลได้ดี โดย I. bijuga มีฤทธิ์ ยับยั้งอนุมูลดีกว่า B. hainesii อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและไม่พบความเป็นพิษต่อเซลล์ ต่อมาทำทดสอบหาสารพฤกษเคมีเบื้องต้นพบว่า พืชทั้ง 2 มีชนิดมีสารพฤกษเคมี คือ tannins, flavonoids, phenolics, cardiacglycoside, anthaquinone, alkaloid และ coumarins สำหรับการสกัดดีเอ็นเอของ I. bijuga และ B. hainesii มาทำการเพิ่มจำนวนด้วยเทคนิค PCR แล้วพบว่า ดีเอ็นเอของพืชทั้งสองมีขนาดประมาณ 500 bp. จากนั้น PCR product ไปตรวจหาลำดับเบสดีเอ็นเอและนำมาเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลในธนาคาร พันธุกรรมโลก (Genbank) เพื่อยืนยันความเหมือนหรือความแตกต่างของลำดับเบสดีเอ็นเอ พบว่า สารสกัดดี เอ็นเอของ I. bijuga และ B. hainesii นี้มีเปอร์เซ็นต์ความใกล้เคียงเมื่อเทียบกับฐานข้อมูลจากการใช้ โปรแกรม BLAST อยู่ที่ 99% และ 100% ตามลำดับ จึงทำการฝากข้อมูลไว้เผื่อเป็นการอนุรักษ์พันธุกรรมของสมุนไพรไทย และจากการทดสอบดูความหลากหลายทางพันธุกรรมด้วย ISSR พบว่า ไพรเมอร์ที่ใช้ในการทดลองสามารถเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอระหว่างตำแหน่งไมโครแซททาไลต์ได้แตกต่างกัน จึงสามารถใช้เป็น เครื่องหมายในการอนุรักษ์สายพันธุ์พืชทั้งสองชนิดนี้ได้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจาก งบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) (อพ.สธ.) ประจำปี งบประมาณ 2560 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | พังกาดอกช่อ | th_TH |
dc.subject | หลุมพอทะเล | th_TH |
dc.subject | ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ | th_TH |
dc.subject | พันธุศาสตร์พืช | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช | th_TH |
dc.title | การศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและความเป็นพิษต่อเซลล์ องค์ประกอบทางเคมี และลายพิมพ์ ดีเอ็นเอของพังกาดอกช่อ (Bruguiera hainesii) และหลุมพอทะเล (Intsia bijuga) ในพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ | th_TH |
dc.title.alternative | Investigation of anti-free radical and cytotoxicity activity, chemical constituent and DNA fingerprint of Bruguiera hainesii, and Intsia bijuga from Kung Krabaen bay royal development study center | en |
dc.type | Research | en |
dc.author.email | boonyadist@go.buu.ac.th | |
dc.year | 2561 | en |
dc.description.abstractalternative | In this study, the rare medicinal plants (Intsia bijuga and Bruguiera hainesii) were collected from Kung Krabaen bay royal development study center, Chanthaburi and investigated anti-free radical activity, cytotoxicity activity, chemical constituent and DNA fingerprint. Based on DPPH, ABTS, FRAP assay, both leaf extracts indicated strong anti-free radical activity, but I. bijuga expressed higher activity than B. hainesii. For cytotoxicity test, I. bijuga and B. hainesii showed slightly activity. In phytochemical tests, several chemicals were examined and pointed that tannins, flavonoids, phenolics, cardiac glycoside, anthaquinone, alkaloid and coumarins were detected in both leaf extracts. DNA sequences and DNA fingerprints of I. bijuga and B. hainesii were also evaluated. The size of PCR products were around 500 bp and percent identity were 99% and 100%, respectively. The data of these ITS regions were registered and deposited in GenBank for conservation benefit. DNA fingerprints of these plants were demonstrated in different pattern using ISSR technique. Thus this method could be used for identification of I. bijuga and B. hainesii and applied as a marker for plant preservation benefit. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2563_147.pdf | 1.98 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น