กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3630
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกันทิมา สุวรรรณพงศ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-07-19T01:36:35Z
dc.date.available2019-07-19T01:36:35Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3630
dc.description.abstractโรคโนซีมา (Nosemosis) ในประเทศไทยเกิดจากเชื้อ Nosema ceranae ซึ่งจัดเป็นราใน กลุ่ม Microspordian ที่ก่อให้ประชากรของผึ้งลดลง เนื่องจากเชื้อเข้าไปทําลายเซลล์เยื่อบุทางเดิน อาหารส่วนกลางของผึ้ง พบการระบาดในผึ้งทุกชนิดในประเทศไทย รวมทั้งผึ้งหลวง (Apis dorsata) ซึ่งเป็นผึ้งพื้นเมืองของประเทศไทย ให้ผลผลิต โดยเฉพาะน้ําผึ้งปริมาณมาก เนื่องจากมีรังขนาดใหญ่ มีจํานวนประชากรมาก และมีบทบาทสําคัญมากต่อระบบนิเวศน์ เนื่องจากทําหน้าที่ผสมเกสรให้พืช ชนิดต่าง ๆ โดยเฉพาะพืชอาหารหลัก (crop plants) ของประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ สํารวจการติดเชื้อ Nosema ในผึ้งหลวงจากพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศไทย และจําแนกชนิด (species identification) ของเชื้อ Nosema ใช้ทั้งลักษณะทางกายภาพของ Nosema สปอร์ และวิเคราะห์ผล ด้วย qPCR และศึกษาผลของเชื้อ N. ceranae ในผึ้งหลวงวรรณะผึ้งงานภายหลังการติดเชื้อ เป็นระยะเวลา 30 วัน โดยการวัดอัตรา การติดเชื้อระหว่างเซลล์ที่ติดเชื้อต่อเซลล์ที่ไม่ติดเชื้อจํานวนรอย เซลล์, จํานวนสปอร์ต่อผึ้งแต่ละตัว ระดับน้ำตาลทรีฮาโลสในฮีโมลิมป์ และปริมาณโปรตีนของต่อม ไฮโปฟาลิงค์ นอกจากนี้ยังศึกษาผลของการใช้สารกัดจากธรรมชาติ เช่น สารสกัดพรอพอลิสจาก ชันโรง และไคโตซาน ต่ออัตราการติดเชื้อ จํานวนสปอร์ในการติดเชื้อ การเพิ่มปริมาณโปรตีนของต่อมไฮโปฟาริงค์ และระดับของน้ำตาลทรีฮาโลสในฮีโมลิมป์ของผึ้งหลวงหลังได้รับเชื้อระดับ 1,000,000 สปอร์ต่อตัว พบการติดเชื้อ Nosema ผึ้งหลวงทุกพื้นที่ทําการสํารวจ และผลการวิเคราะห์ด้วย qPCR โดยผึ้งที่ติดเชื้อเกือบทั้งหมดเป็นเชื้อ N. ceranae มีเพียงตัวอย่างที่เก็บได้ในเขต จังหวัดลําพูนและเชียงใหม่ที่พบทั้ง N. ceranae และ N. apis นอกจากนี้ยังพบว่าเชื้อที่ระดับความเข้มข้นสูงส่งผลให้ประสิทธิภาพการติดเชื้อและอัตรา การติดเชื้อสูงขึ้น และที่น่าสนใจก็คือ สารสกัด พรอพอลิสความเข้มข้นร้อยละ 50 และไคโตซานความเข้มข้น 0.1 ppm ทําให้ประสิทธิภาพการติดเชื้อและอัตรา การติดเชื้อลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม ระดับน้ำตาลทรีฮาโลสในน้ำเลือด ปริมาณโปรตีนในต่อมไฮโปฟาลิงค์และการรอดชีวิตของผึ้งหลวงเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับสารสกัดทั้งสองชนิด ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าสารสกัดพรอพอลิสจากชันโรง และไคโตซาน ควรพิจารณาเพื่อเป็นทางเลือกของการใช้สารจากธรรมชาติในการนํามาเป็นส่วนผสมในสูตรอาหาร เพื่อทําให้ผึ้งในรังมีความสามารถต้านโรคโนซีมาth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2561th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectไคโตซานth_TH
dc.subjectผึ้งหลวงth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการระบาดของเชื้อ Nosema ceranae และความรุนแรงของโรค ในผึ้งหลวง (Apis dorsata Fabricius, 1793) ในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeDistribution and virulence of Nosema ceranae in Thai giant honeybee, Apis dorsata Fabricius, 1793en
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailguntima@buu.ac.th
dc.year2561th_TH
dc.description.abstractalternativeNosemosis has been reported to impact the colony population of all species of honey bees in Thailand that caused by Nosema ceranae, a microsporidian infected honey bee midgut. Its infection also has been reported in Apis dorsata, the giant honey bee which produce a large amount of colony products particularly honey. Not only the hive products they provide, this honey bee species also play important role as pollinators for crop and wild plants. We aimed to investigate the prevalence of Nosema ceranae in A. dorsata throughout Thailand, identify Nosema species using qPCR and also evaluate the virulence of N. ceranae in A. dorsata workers through the experimental infection of caged bees for 30 days. The infection ratios between infected cells to non-infected cells, number of spores per bee (infectivity), trehalose level in haemolymph and protein contents of hypopharyngeal glands were evaluated. Moreover, the use of natural products as propolis extract from stingless bees, Trigona apicalis, and Chitosan to control N. ceranae infected honey bees, A. dorsata.also investigated. The findings showed that, Nosema infections of A. dorsata were found in all survey areas. The qPCR products of almost bee samples revealed that they were N. ceranae. However, only samples collected from two regions which were Lampoon province and Chiang Mai province were found both N. ceranae and N. apis. It was shown that increasing doses of Nosema caused increasing infection ratio and infectivity. Interestingly, bee treated with 50% propolis extract from stingless bee and 0.1 ppm chitosan had lower infection ratios and infectivities compared to those of others. In addition, chitosan treated bees had significantly higher trehalose levels in haemolymph, hypopharyngeal gland protein contents, and higher survival compared to those of untreated bees. The results indicate that propolis extract and chitosan could therefore be considered as a possible viable alternative way for the control of Nosemosis to improve bee health and help the beekeepers to formulate propolis and chitosan feeding for colonies of honeybees in Thailanden
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_120.pdf5.67 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น