กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3626
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชัยศักดิ์ อิสโร | |
dc.contributor.author | ฐานวีร์ โชติจารุสวัสดิ์ | |
dc.contributor.author | เอกพงษ์ สุวัฒนมาลา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-07-18T03:11:37Z | |
dc.date.available | 2019-07-18T03:11:37Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3626 | |
dc.description.abstract | ในงานวิจัยนี้ได้ทําการสังเคราะห์กราฟีนออกไซด์ (Graphene oxide, GO) และกราฟีนออกไซด์ที่เจือด้วยไนโตรเจน (Nitrogen-doped graphene oxide, NGO) ด้วยวิธีฮัมเมอร์ (Hummer method) GO และ NGO ที่สังเคราะห์ได้จะถูกนําไปไฮบริดกับซิงออกไซด์ (Zinc oxide, ZnO) ด้วยวิธี ไฮโดรเทอร์มอล (Hydrothermal) (อ้างอิงเป็น ZnO-GO และ ZnO-NGO ตามลําดับ) โดยที่สัณฐานวิทยา , โครงสร้างนาโน, หมู่ฟังก์ชัน องค์ประกอบธาตุ และโครงสร้างผลึกของตัวอย่างที่สังเคราะห์ได้จะถูก ตรวจสอบด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (Scanning electron microscopy, SEM), กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (Transmission electron microscopy, TEM), เครื่องอนุภาค อิเล็กตรอนที่ถูกปลดปล่อยด้วยรังสีเอกซ์ (X-ray photoelectron microscopy, XPS), เครื่องวิเคราะห์หา องค์ประกอบทางโครงสร้างเคมีของสารโดยใช้ความยาวคลื่นช่วงอินฟราเรด (Fourier transform infrared spectroscopy, FT-IR) และเครื่องวิเคราะห์การเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ (X-ray diffraction, XRD) ผล การวิเคราะห์ด้วย SEM และ TEM แสดงให้เห็นว่า GO ทีสังเคราะห์ได้มีโครงสร้างเป็นแผ่นย่น ในขณะ ที่ ZnO มีโครงสร้างเป็นชิ้นเล็ก ๆ ที่มีขนาด 465 ไมโครเมตร ที่กระจายตัวอย่างไร้ระเบียบบนแผ่น GO ผลการวิเคราะห์ด้วย XPS แสดงผลให้เห็นว่าปริมาณไนโตรเจนในตัวอย่าง NGO มีค่า 7.2 at% แก๊ส เซนเซอร์จาก ZnO-GO และ ZnO-NGO ทีสังเคราะห์ได้จะถูกนําไปตรวจวัดแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ (Nitrogen dioxide, NO2) และคาร์บอนมอนอกไซด์ (Carbon monoxide, CO) ที่ความเข้มข้น 50-200 ใน พันล้านส่วน (parts per million, ppm) ที่อุณหภูมิห้องถึง 75 องศาเซลเซียส พบว่าค่าการตอบสนองของ ZnO-GO ต่อแก๊ส NO2 ที่ความเข้มข้น 100 ppm ที่อุณหภูมิห้อง, 50 และ 175 องศาเซลเซียส เท่ากับ 0.00 %, 11.11 % และ 49.71 % ตามลําดับ ในขณะที่ ZnO-NGO เท่ากับ 19.22 %, 81.74 % และ 92.73 % ตามลําดับ ค่าความต้านทานไฟฟ้าของเซนเซอร์ ZnO-GO และ ZnO-NGO มีค่าลดลงเมือสัมผัสกับแก๊ส NO2 ผลการลดลงของความต้านทานไฟฟ้า จากผลดังกล่าวคาดว่าวัสดุหลักที่เป็นตอบสนองแก๊สคือ GO และ N-GO ยิงไปกว่านั้น เซนเซอร์ ZnO-NGO มีค่าการตอบสนองที่สูงกว่าเซนเซอร์จาก ZnO เนื่องจากบริเวณความบกพร่องที่เกิดการเจือไนโตรเจนช่วยเพิมการดูดซับโมเลกุลแก๊สได้ดียิ่งขึ้นบน GO ส่งผลให้มีค่าการตอบสนองเพิ่มขึ้น ผลลัพธ์นี้แสดงให้เห็นว่าวัสดุไฮบริด ZnO-NGO ที่สังเคราะห์ได้มีคุณสมบัติที่เหมาะในการนําไปประยุกต์ใช้เป็นอุปกรณ์แก๊สเซนเซอร์ | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจําปีงบประมาณ 2561 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | วัสดุนาโนคาร์บอน | |
dc.subject | แก๊สเซ็นเซอร์ | |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ | |
dc.title | วัสดุไฮบริดของซิงค์ออกไซด์กับโครงสร้างระดับนาโนคาร์บอนสําหรับ การตรวจวัด NO2 และ CO ที่อุณหภูมิห้อง | th_TH |
dc.title.alternative | Hybrid materials of zinc oxide with carbon nanostructures for sensing NO2 and CO gas at room temperature | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | akapong@buu.ac.th | |
dc.author.email | chaisak@buu.ac.th | |
dc.author.email | thitikor@buu.ac.th | |
dc.year | 2561 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | In this work, graphene oxide (GO) and nitrogen-doped graphene oxide (NGO) were synthesized by Hummer method. Synthesized GO and NGO were mixed with zinc oxide by hydrothermal method (referred as to ZnO-GO and ZnO-NGO, respectively). The morphology, nanostructure, functional group, element composition and crystallinity of synthesized samples were analyzed by scanning electron microscopy (SEM), transmission electron microscopy (TEM), X-ray photoelectron microscopy (XPS), Fourier transform infrared spectroscopy (FT-IR), and X-ray diffraction (XRD). The SEM and TEM results show the wrinkled-structure of GO. The flake-like structure of ZnO with average size of 465 µm were randomly stacked on the surface of GO layer. The XPS result show that doping content of nitrogen in NGO was 7.2 at.%. The gas sensor-based on ZnOGO and ZnO-NGO were detected to nitrogen dioxide gas (NO2) and carbon monoxide (CO) in the range of 50 to 200 parts per million (ppm) at room temperature to 75 °C. The sensitivity of ZnO-GO to 100 ppm NO2 gas at room temperature, 50 °C and 75 °C were 0.00 %, 11.11 % and 49.71 %, respectively, while the sensitivity of ZnO-NGO was 19.22 %, 81.74 % and 92.73 %, respectively. The resistance of ZnO-GO and ZnO-NGO sensors decreased after NO2 exposure. This results imply that the majority material for sensing is GO and NGO. Moreover, the sensitivity of ZnO-NGO sensor is higher than that of ZnO-GO because the defect site from nitrogen doping enhance the adorsption of gas molecule onto GO, resulting in an increase in the sensitivity. The results imply that synthesized ZnO-NGO hybrid materials could be used in gas sensor devices | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2563_116.pdf | 3.23 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น