กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3614
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | อรรถพล เชยศุภเกตุ | |
dc.contributor.author | ธนัสถา รัตนะ | |
dc.contributor.author | สุรสิงห์ ไชยคุณ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-07-12T07:44:13Z | |
dc.date.available | 2019-07-12T07:44:13Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3614 | |
dc.description.abstract | ฟิล์มบางไทเทเนียมคาร์ไบด์เคลือบบนวัสดุรองรับต่าง ๆ ด้วยวิธี ดีซี แมกนีตรอน โคสปัตเตอริง โดยได้ศึกษาผลของกระแสไฟฟ้าให้กับเป้าสารเคลือบไทเทเนียม และเวลาในการเคลือบที่มีต่อสมบัติ ทางกายภาพของฟิล์มที่เคลือบได้ด้วย XRD, SEM, AFM, Raman spectroscopy, XPS และ UV-vis spectrophotometry จากผลการทดลองของฟิล์มที่เคลือบได้ด้วยกระแสไฟฟ้าให้กับเป้าสาร เคลือบไทเทเนียมต่าง ๆ พบว่า ฟิล์มบางไทเทเนียมคาร์ไบด์ที่เคลือบได้บนแผ่นซิลิกอนและ กระจกสไลด์ มีโครงสร้างผลึกแบบเฟซเซ็นเตอร์คิวบิก และเมื่อกระแสไฟฟ้าให้กับเป้าสารเคลือบ ไทเทเนียมเพิ่มขึ้น มีผลทำให้ฟิล์มที่เคลือบได้มีความเป็นผลึก ความหยาบผิว ขนาดเกรน ความหนา และอัตราส่วนของไทเทเนียมต่อคาร์บอนมีค่าเพิ่มขึ้น โดยที่กระแสไฟฟ้าให้กับเป้าสารเคลือบ ไทเทเนียมเท่ากับ 500 mA ทำให้ฟิล์มที่เคลือบได้บนวัสดุรองรับต่างๆ เป็นสารประกอบไทเทเนียม คาร์ไบด์ที่มีสีเทา ส่วนผลการทดลองของฟิล์มไทเทเนียมคาร์ไบด์เคลือบได้ด้วยเวลาในการเคลือบ ต่างๆ พบว่า เมื่อเวลาในการเคลือบเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ฟิล์มมีความเป็นผลึก ความหยาบผิว ขนาดเกรน ความหนาและค่าการสะท้อนแสงเพิ่มขึ้น แต่ทำให้อัตราส่วนของไทเทเนียมต่อคาร์บอนมีค่าลดลง โดยผลการวัดสีในระบบ CIE L*a*b* พบว่าสีของฟิล์มทั้งหมดที่เคลือบได้ที่เวลาต่างๆ อยู่ในโทนสีเทา | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ฟิล์มบางไทเทเนียมคาร์ไบด์ | th_TH |
dc.subject | สารเคลือบไทเทเนียม | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การเตรียมฟิล์มบางไทเทเนียมคาร์ไบด์ด้วยวิธี ดีซี แมกนีตรอน โคสปัตเตอริง สำหรับงานด้านเคลือบเพื่อความสวยงาม | th_TH |
dc.title.alternative | Preparation of Titanium Carbide Thin Films by DC Magnetron Co-sputtering for Decorative Coating | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | c_attapol@hotmail.com | th_TH |
dc.author.email | tanattha@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | surasing@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2560 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Titanium carbide (TiC) thin films were deposited on different substrates by DC magnetron co-sputtering technique. The effects of Ti target current and deposition time on physical properties of the deposited films were investigated using XRD, SEM, AFM, Raman spectroscopy, XPS and UV-vis spectrophotometry. In the experiment of Ti target current, the results showed that TiC films with face-centered cubic phase were successfully deposited on Si wafers and glass slides. By increasing Ti target current, it could be observed that the crystallinity, surface roughness, grain size, thickness and Ti/C ratio of films were increased. At the Ti target current of 500 mA, all deposited films on different substrates were TiC compound with grey color. In the experiment of increasing deposition time, the results showed that the crystallinity, surface roughness thickness and optical reflectance of TiC films were increased but on the other hand, the Ti/C ratio of film was decreased. The color measuring of CIE L*a*b* system showed that all deposited films with different deposition time were tone of grey | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2563_104.pdf | 7.7 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น