กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3612
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorทวีชัย สำราญวานิช
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-07-12T01:50:56Z
dc.date.available2019-07-12T01:50:56Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3612
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาการแพร่คลอไรด์และความสามารถเก็บกักคลอไรด์ของซีเมนต์เพสต์ที่ ผสมเถ้าลอยและสารขยายตัว โดยใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 เป็นวัสดุประสานหลัก อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน 0.40 และ 0.50 อัตราส่วนการแทนที่วัสดุประสานด้วยเถ้าลอยและ สารขยายตัว 0.30 และ 0.10 ตามลําดับ ทําการทดสอบการแพร่คลอไรด์โดยผสมเกลือโซเดียมคลอ ไรด์ในซีเมนต์เพสต์ตั้งแต่แรกที่ปริมาณคลอไรด์ 3.0% โดยน้ำหนักวัสดุประสาน จากนั้นบ่มตัวอย่างด้วยแผ่นพลาสติก ครบกําหนดจึงเคลือบผิวด้วยอีพ๊อกซีทุกด้านยกเว้นปลายด้านหนึ่ง แล้ว นําไปแช่ในน้ำเปล่า 91 วัน เมื่อครบกําหนดจึงนําตัวอย่างมาหาปริมาณคลอไรด์ตามระดับความลึก จากผิวหน้า และทําการทดสอบความสามารถเก็บกักคลอไรด์โดยนําชิ้นตัวอย่างไปแช่ไว้ในน้ำเกลือ โซเดียมคลอไรด์ 5.0% โดยนน้ำหนัก แล้วจึงนํามาทําการทดสอบที่อายุ 91วัน นอกจากนนี้ทําการทดสอบการแพร่คลอไรด์ของซีมนต์เพสต์ที่ผสมเส้นใย ใช้อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน 0.40 และ ปริมาณเส้นใย 0.25% และ 0.50% โดยปริมาตร ผสมเกลือคลอไรด์ในปริมาณเริ่มต้น 3.0% โดย น้ำหนักวัสดุประสานด้วย จากผลการทดลองพบว่า ซีเมนต์เพสต์ล้วนมีความต้านทานการแพร่คลอไรด์มากกว่า ซีเมนต์เพสต์ทที่ผสมเถ้าลอยหรือสารขยายตัวและซีเมนต์เพสต์ที่ผสมเถ้าลอยและสารขยายตัว ตามลําดับ ซีเมนต์เพสต์ที่ผสเถ้าลอย สารขยายตัวและฝุ่นหินปูนมีความสามารถเก็บกักคลอไรด์ ดีกว่าซีเมนต์เพสต์ล้วน ซีเมนต์เพสต์ที่ผสมเส้นใยมีความต้านทานการแพร่ของคลอไรด์ได้ดีกว่าซีเมนต์เพสต์ล้วน การแพร่คลอไรด์ของซีเมนต์เพสต์เปลี่ยนแปลงตามเวลา โดยที่ระยะเวลาการแช่ น้ำเปล่า 28 วัน ซีเมนต์เพสต์ที่ผสมเส้นใยที่ปริมาณ 0.25% มีการแพร่คลอไรด์ไม่แตกต่างกัน แต่ที่ ปริมาณเส้นใย 0.50% ซีเมนต์เพสต์ที่ผสมเส้นใยแก้วมีการแพร่คลอไรด์มากสุด ส่วนซีเมนต์เพสต์ที่ ผสมเส้นใยเหล็กมีการแพร่คลอไรด์ต่ำสุด แต่ที่ระยะเวลาแช่นน้ำเปล่า 91 วัน พบว่า ทั้งที่ปริมาณเส้น ใย 0.25% และ 0.50% ซีเมนต์เพสต์ที่ผสมเส้นใยแก้วมีการแพร่คลอไรด์มากที่สุดและซีเมนต์เพสต์ ที่ผสมเส้นใยเหล็กมีการแพร่ต่ำสุด สุดท้ายพบว่า ซีเมนต์เพสต์ที่ผสมเส้นใยแก้วความต้านทานการ แพร่ของคลอไรด์เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนเมื่อปริมาณเส้นใยเพิ่มขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณเงินแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการกักเก็บคลอไรด์th_TH
dc.subjectการกัดกร่อนและการป้องกันการกัดกร่อนth_TH
dc.subjectคอนกรีต -- การกัดกร่อนth_TH
dc.subjectคอนกรีตผสมขี้เถ้าลอย -- การกัดกร่อนth_TH
dc.subjectปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์th_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการแพร่ของคลอไรด์และความสามารถเก็บกักคลอไรด์ของซีเมนต์เพสต์ ผสมเถ้าลอย ผงหินปูน สารขยายตัวและเส้นใยth_TH
dc.title.alternativeChloride diffusion and chloride binding capacity of cement paste containing fly ash, limestone powder, expansive agent and fiberth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailtwc@buu.ac.thth_TH
dc.year2561th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study chloride diffusion and chloride binding capacity of cement paste with fly ash and expansive agent. Type I Portland cement was used as main cementitious material. Water to binder ratios of 0.40 and 0.50 were used. Fly ash and expansive agent were replaced in binder at ratio of 0.30 and 0.10, respectively. Chloride diffusion test were performed by mixing initial chloride in cement paste at 3.0% by weight of binder. Cement pastes were cured in plastic sheet, then coated with epoxy except one end and exposed in pure water for 91 days. After exposure, cement pastes were cut and investigated chloride content along the depth from exposed surface. Moreover, the chloride diffusion test was also done for cement pastes containing fibers at water to binder ratio of 0.40 and fiber contents of 0.25% and 0.50% by volume of paste with initial chloride content of 3.0% by weight of binder. From the experimental results, it was found that cement-only paste has higher chloride diffusion resistance than cement paste with fly ash or expansive agent and cement paste with both fly ash and expansive agent, respectively. Cement paste with fly ash, expansive agent and limestone powder has higher chloride binding capacity than cement-only paste. Cement paste containing fiber has better chloride diffusion resistance than cement-only paste. The chloride diffusion of cement paste changes with time. For 28-day exposure in pure water, there is no difference in chloride diffusion of cement paste at 0.25% fiber content. Cement paste with glass fiber has the highest chloride diffusion, while cement paste with steel fiber has the lowest chloride diffusion at 0.50% fiber content. But for 91-day exposure in pure water, cement paste with glass fiber has the highest chloride diffusion, while cement paste with steel fiber has the lowest chloride diffusion at both 0.25% and 0.50% fiber contents. Finally, it was noted that cement paste with glass fiber has clearly higher chloride diffusion resistance with the increase of fiber contentth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2562_082.pdf5.61 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น