กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3597
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวิเชียร ชาลี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-06-13T10:43:23Z
dc.date.available2019-06-13T10:43:23Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3597
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาผลของอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานและเถ้าถ่านหินต่อการแทรกซึมของ คลอไรด์ การกัดกร่อนเหล็กเสริม และกำลังอัดของคอนกรีตที่ใช้มวลรวมจากเศษคอนกรีต ภายใต้ สภาวะแวดล้อมทะเลเป็นเวลา 5 ปีโดยใช้เถ้าถ่านหินจากแม่เมาะแทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ประเภทที่ 1 ในคอนกรีตที่ใช้มวลรวมจากเศษคอนกรีตและมวลรวมจากธรรมชาติในอตัราส่วน ร้อยละ 0, 15, 25, 35และ 50 โดยน้ำหนักวัสดุประสาน และใช้อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน (W/B) เท่ากับ 0.40, 0.45 และ 0.50 หล่อตัวอย่างคอนกรีตทรงลูกบาศก์ขนาด 200x200x200 มม 3 และฝังเหล็กเส้นกลมขนาดเส้นผ่านศูนยก์ลาง 12 มม. ยาว 50 มม. ให้มีระยะหุ้มของคอนกรีตหนาเท่ากับ 10, 20, 50 และ 75 มม. เพื่อทดสอบการกดักร่อนเหล็กเสริมและการแทรกซึมของคลอไรด์ตลอดจนหล่อ ตัวอย่างคอนกรีตทรงกระบอกขนาด 100×200 มม2 . เพื่อทดสอบกำลังอัดของคอนกรีต หลังจากบ่มคอนกรีตในน้ำ เป็นเวลา 28 วัน นำตัวอย่างทดสอบไปแช่ในสิ่งแวดล้อมทะเลบริเวณชายฝั่งในสภาวะเปียกสลับแห้ง โดยเก็บตัวอย่างทดสอบการแทรกซึมของคลอไรด์การกัดกร่อนเหล็กเสริมและกำลังอัดของคอนกรีตที่อายุแช่น้ำทะเล 5 ปี ผลการศึกษาพบว่าคอนกรีตที่ใชม้วลรวมจากเศษคอนกรีตทุกส่วนผสม มีการสูญเสียกำลัง อัดหลังแช่น้ำทะเลเป็นเวลา 5 ปีการใช้เถ้าถ่านหินแทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ใน ปริมาณที่สูงขึ้นส่งผลต่อการแทรกซึมของคลอไรด์ในคอนกรีตและการกดักร่อนเหล็กเสริมลงได้ อย่างชัดเจน อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานที่ลดลงส่งผลต่อการลดการแทรกซึมคลอไรด์ในคอนกรีต ที่ไม่ผสมเถ้าถ่านหินมากกว่าคอนกรีตที่ผสมเถ้าถ่านหิน การศึกษาคร้ังนี้พบว่า การแทนที่เถ้าถ่านหิน แม่เมาะในปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ร้อยละ 15 ถึง 25 โดยน้ำหนักวัสดุประสาน และมี อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานเท่ากับ 0.40 มีความเหมาะสมทั้งกำลังอัดและความสามารถในการ ต้านทานการแทรกซึมของคลอไรด์ที่จะใช้ในสิ่งแวดล้อมทะเลth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคอนกรีต -- การผสมth_TH
dc.subjectเถ้าถ่านหิน -- การใช้เป็นสารเติมแต่งth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleความคงทนของคอนกรีตที่ใช้มวลรวมจากเศษคอนกรีตผสมเถ้าถ่านหินภายใต้สิ่งแวดล้อมทะเลเป็นเวลา 5 ปีth_TH
dc.title.alternativeDurability of recycle aggregate concrete containing fly ash under 5-year exposure in marine siteth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailwichian@buu.ac.th
dc.year2561th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this investigation were to study the effect of W/B ratios and fly ash contents on chloride penetration, steel corrosion and compressive strength of recycled aggregate concrete under 5-year exposure in marine environment. Fly ash from MaeMoh power plant was used as a partial replacement of portland cement type I at 0, 15, 25, 35, and 50% by weight of binder. Water to binder ratios (W/B) was varied as 0.40, 0.45, and 0.50. Concrete cube specimens of 200x200x200 mm3 were cast and steel bars of 12-mm in diameter and 50-mm in length are embedded at coverings of 10, 20, 50, and 75 mm. Besides, the cylindrical specimens of 100-mm in diameter and 200-mm in height were cast for compressive strength test. Subsequently, the hardened concrete specimens were cured in fresh water until the age of 28 days and then were exposed to tidal zone of marine environment. The specimens were tested for chloride penetration, steel corrosion and compressive strength in concrete after being exposed to the tidal zone for 5 years. The results showed that all recycle aggregated concrete show strength loss after 5-year exposure in marine site. The increase of fly ash replacement in concrete clearly reduced the chloride penetration and steel corrosion in recycled aggregate concrete. When the W/B ratio of concrete was reduced, the decrease of chloride penetration in concrete without fly ash was higher than that of the fly ash concrete. This study was found that the use of Mae-Moh fly ash to replace Portland cement between 15 and 25 percent by weight of binder with the W/B ratio of 0.40 in the mixture would be suggested to satisfy both compressive strength and chloride penetration resistance of recycled aggregate concretes exposed to marine environmenten
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_063.pdf4.77 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น