กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3584
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอริสฬา เตหลิ่ม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. กองทะเบียนและประมวลวัดผลการศึกษา
dc.date.accessioned2019-06-01T15:38:36Z
dc.date.available2019-06-01T15:38:36Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3584
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปร เกรดเฉลี่ยสะสมระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (GPA) คะแนนการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) และคะแนนเฉลี่ยสะสมชั้นปีที่ 1 - 4 ของกลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพและกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2) เพื่อศึกษาและพัฒนาโมเดลที่มีตัวแปรที่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงระยะยาวของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่มีตัวแปรร่วม (Covariate) ได้แก่ เกรดเฉลี่ยสะสมระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (GPA) และคะแนนการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) ของกลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ และกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นิสิตระดับปริญญาตรีที่เริ่มศึกษา ปีการศึกษา 2555 และสำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2558 จำนวน 800 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นโดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary source) ซึ่งรวบรวมจากระบบบริการการศึกษา กองทะเบียนและประมวลการศึกษา และระบบการรายงานผลอัตโนมัติ (RPS : Reporting Service System) ของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1. เกรดเฉลี่ยสะสมในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายและคะแนนการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตปริญญาตรีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ทั้ง 3 กลุ่มสาขาวิชา 2. โมเดลโค้งพัฒนาการผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตปริญญาตรีที่ไม่มีตัวแปรร่วม ทั้ง 3 กลุ่มสาขาวิชา มีอัตราคะแนนพัฒนาการต่อปีมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยทุกโมเดลมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ส่วนโมเดลโค้งพัฒนาการผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตปริญญาตรีที่มีตัวแปรร่วม พบว่า ตัวแปรเกรดเฉลี่ยสะสมระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและคะแนนการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน มีอิทธิพลต่อคะแนนเริ่มต้นเป็นบวก มีอิทธิพลต่อคะแนนพัฒนาการเป็นลบ ทั้ง 3 กลุ่มสาขาวิชาth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherกองทะเบียนและประมวลวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ตัวแปรที่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงระยะยาวของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้โมเดลโค้งพัฒนาการth_TH
dc.title.alternativeAn analysis of models of the variables corralated with longgitudinal change in academic achievement using the growth curve modelen
dc.typeResearchen
dc.year2561
dc.description.abstractalternativeThis study was aimed to 1) study the relationship of grade point average of high school (GPA), The Ordinary National Education Testing (ONET), and university student's GPA for each of four years in 3 fields of study; Humanities and Social Sciences, Health Science, and Science and Technology of Burapha University 2) study and develop the growth curve model in the study of longitudinal changes of the university student's GPA for each of four years in the present of covariate of collegian using GPA and ONET in 3 fields of study; Humanities and Social Sciences, Health Science, and Science and Technology of Burapha University. Samples were 800 students admitted in 2012 academic year and graduated in 2015 by stratified random sampling. The data were collected from the office of registration of Burapha University and the Reporting Service System of National Institute of Educational Testing Service (NIETs). The results of the study revealed that: 1. ONET and grade point average of high school (GPA) were positively correlated with the undergraduate achievement at .001 level of significance in all fields of studies. 2. In growth curve model of university student's GPA without covariate in all fields of studies had the increasing rate compared to the initial rate as all models were consistent with the empirical data. In growth curve model of university student's GPA with covariates in all fields of studies; The ONET and grade point average of high school (GPA) had the positive effect on the intercept, but the negative effect on the slopeen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_015.pdf1.62 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น