กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3562
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุบัณฑิต นิ่มรัตน์
dc.contributor.authorวีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-05-17T02:29:32Z
dc.date.available2019-05-17T02:29:32Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3562
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินมูลค่าของทรัพยากรในระบบนิเวศป่าเสม็ดขาวด้านการ กักเก็บคาร์บอนของมวลชีวภาพเหนือผิวดินและคุณค่าของการผลิตน้ำมันหอมระเหย โดยบูรณาการ เทคนิคการสำรวจป่าไม้ เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศจากหุ่นยนต์อากาศยานขนาดเล็ก และการวิเคราะห์ ทางเคมีดำเนินการสำรวจและเก็บตัวอย่างในช่วงมิถุนายน – ธันวาคม 2559 และแบ่งพื้นที่ศึกษา ตามระบบนิเวศที่แตกต่างกันเป็น 3 พื้นที่คือ สถานีพัฒนาป่าชายเลนที่ 2 (ตัวแทนป่าเสม็ดธรรมชาติ) สวนป่าท่ากุ่มโนโบรุ อุเมดะ (ตัวแทนป่าเสม็ดป่าปลูก) และพื้นที่สนามไชยป่าสาธารณะ (ตัวแทนป่า เสื่อมโทรม) ผลการศึกษาพบว่า 1) สวนป่าท่ากุ่มโนโบรุ อุเมดะ มีปริมาณสะสมคาร์บอนเหนือพื้นดิน สูงที่สุด คือ 82.83±0.00 ตันคาร์บอน/เฮกแตร์รองลงมาคือ พื้นที่สถานีพัฒนาป่าชายเลนที่ 2 และ พื้นที่สนามไชยป่าสาธารณะ มีปริมาณสะสมคาร์บอนเหนือพื้นดิน 15.03±0.87 และ 3.23±0.20 ตัน คาร์บอน/เฮกแตร์ ตามลำดับ หรือ คิดเป็นมูลค่า 9,564.38, 1,735.51 และ 372.97 บาท/เฮกแตร์ ตามลำดับ โดยอ้างอิงอัตราคาร์บอนเครดิตจากการซื้อขายในตลาดแบบสมัครใจ 2) พื้นที่สถานีพัฒนาป่าชายเลนที่ 2 สามารถผลิตน้ำมันได้ 1.76 กิโลกรัม/เฮกแตร์ คิดเป็นมูลค่าเท่ากับ 4,364.80 บาท/ เฮกแตร์ ส่วนพื้นที่สนามไชยป่าสาธารณะสามารถผลิตน้ำมันได้ 2.11 กิโลกรัม/เฮกแตร์ คิดเป็นมูลค่า เท่ากับ 5,232.80 บาท/เฮกแตร์ส่วนพื้นที่สวนป่าท่ากุ่มโนโบรุ อุเมดะ ไม่ได้ประเมินมูลค่าน้ำมันหอม ระเหยเนื่องจากมีข้อจำกัดทางด้านการเก็บตัวอย่างใบเสม็ดขาว เมื่อประเมินมูลค่ารวมทั้งหมด พื้นที่ สวนป่าท่ากุ่มโนโบรุ อุเมดะ มีมูลค่าสูงที่สุด รองลงมา คือ พื้นที่สถานีพัฒนาป่าชายเลนที่ 2 และ พื้นที่สนามไชยป่าสาธารณะ โดยมีมูลค่าโดยรวมเท่ากับ 9,564.38, 6,100.31 และ 5,605.77 บาท/ เฮกแตร์ ตามลำดับth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectอาหารทะเลแห้งth_TH
dc.subjectแบคทีเรีย -- การควบคุมth_TH
dc.subjectการแปรรูปสัตว์น้ำth_TH
dc.subjectโพรไบโอติกth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการพัฒนาการควบคุมจุลินทรีย์ด้วยสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากแบคทีเรีย โพรไบโอติกเพื่อพัฒนามาตรฐานและควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแห้งของประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of bioactive compounds from probiotic bacteria for controlling microorganisms, and improving standard and quality of dried seafood products from Thailanden
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailsubunti@buu.ac.th
dc.author.emailverapong@buu.ac.th
dc.year2560th_TH
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research was evaluated to the ecosystem services in the Melaleuca cajuputi Powell ecosystem including the capacity of above ground carbon stocking and production of essential oils. Geo-informatics-drone imagery, Forest inventory and Chemical analysis were applied in this methodology. The data collection was conducted during June - December 2016. The study area was selected on 3 ecological patterns indicating Mangrove development No.II station (Natural forest represented), Tha Kum Umeda Forest station (Artificial forest represented) and Sanam Chai (Disturb forest represented). The study found: 1) Tha Kum Umeda Forest plantation was highest stocked C as 82.83±0.00 tC.ha-1 while the Mangrove development No.2 station and Sanam Chai were stocked as 15.03±0.87 and 3.23± 0.20 tC.ha-1 respectively or value calculated of 9,564.38, 1,735.51 and 372.97 THB.ha-1 respectively (ref. Voluntary Carbon Market) 2) For the essential oils product, the Mangrove development No.II station was produced 1.76 kg.ha-1 (4,364.80 THB.ha-1 ) while the Sanam Chai was produced 2.11 kg.ha-1 (5,232.80 THB.ha-1 ). Unfortunately, Tha Kum Umeda Forest plantation was not tested in this study cause technical limited. The total of ecosystem services value were expressed first ranked on Tha Kum Umeda Forest plantation (9,564.38 THB.ha-1 ), second ranked on the Mangrove development No.II station (6,100.31 THB.ha-1 ) and third ranked on the Sanam Chai (5,605.77 THB.ha-1 ).en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_032.pdf6.12 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น