กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3559
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชัยณรงค์ เครือนวน
dc.contributor.authorจิรายุทธ์ สีม่วง
dc.contributor.authorกัมปนาท เบ็ญจนารี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2019-05-15T03:55:51Z
dc.date.available2019-05-15T03:55:51Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3559
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทางเลือกการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ถูกนำเสนอโดยภาครัฐและกลไกรัฐ ทางเลือกการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ถูกนำเสนอ โดยภาคเอกชน ทางเลือกการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ถูกนำเสนอโดยภาคประชาชนและเปรียบเทียบ ทางเลือกการพัฒนาอุตสาหกรรม รวมทั้งแสวงหาจุดร่วมของทางเลือกการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ถูกนำเสนอโดยภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน แนวคิดทฤษฎีที่ใช้เป็นเครื่องมือในการศึกษาครั้งนี้ คือ แนวคิดการพัฒนาทางเลือก (Alternative Development) ผลการศึกษาวิจัยชี้ให้เห็นว่าทางเลือก การพัฒนาอุตสาหกรรมที่ถูกนำเสนอโดยภาครัฐและเอกชนเป็นทางเลือกที่ต้องการสร้างความเติบโตให้กับตัวเลขทางเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการทำให้อุตสาหกรรมเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและรับผิดชอบ ต่อสังคมหรือชุมชนท้องถิ่น เป้าหมายของการนำเสนอทางเลือกเช่นนี้เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกต่อไป ส่วนทางเลือกการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกิดจาก ภาคประชาชนในพื้นที่ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงงานอุตสาหกรรมแม้จะความแตกต่างในเชิงวิธีการหรือประเด็นที่นำเสนอ แต่เมื่อพิจารณาถึงเป้าหมายของทางเลือกเหล่านี้แล้วก็จะพบว่า เป็นไปในลักษณะของการสร้างเงื่อนไขเพื่อทำให้เกิดการกระจายผลประโยชน์จากการพัฒนาอุตสาหกรรม ส่วนข้อเสนอจากประชาชนในพื้นที่ซึ่งยังไม่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมแบบเข้มข้นพวกเขาเห็นว่าจำเป็นต้องกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาให้สอดคล้องกับฐานภูมินิเวศท้องถิ่นหรือการจัดโซนนิ่งการพัฒนาอุตสาหกรรมให้มีความชัดเจนกล่าวได้ว่าทางเลือกการพัฒนาอุตสาหกรรมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเหล่านี้ อยู่ภายใต้ฐานคิดทางเลือกการพัฒนาแนวปฏิรูป (Reformist Development) ที่ไม่ได้ปฏิเสธการพัฒนากระแสหลัก (Mainstream Development) โดยสิ้นเชิงเพียงแต่เพิ่มวาทกรรมและปฏิบัติการทางวาทกรรมใน รูปของความยั่งยืน ความรับผิดชอบ ความเป็นธรรมทางสังคมและสิ่งแวดล้อมเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการพัฒนาแบบทุนนิยม ผ่านปฏิบัติการเพื่อให้เห็นภาพการพัฒนาแบบทุนนิยมสีเขียว (Green Capitalism) หรือการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม (Participatory Development) รวมทั้งการให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่เน้นคนเป็นศูนย์กลาง(Human Development/People-centered Development)th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณเงินแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 มหาวิทยลัยบูรพาth_TH
dc.language.isoth
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการพัฒนาอุตสาหกรรม -- ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectชายฝั่ง -- ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์th_TH
dc.titleทางเลือกการพัฒนาอุตสาหกรรมพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกในมุมมองของรัฐ เอกชนและภาคประชาชนth_TH
dc.title.alternativeAlternative Industrial Developments of Eastern Seaboard Area in the Perspectives of State, Private and People Sectoren
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailchainarong49@gmail.com
dc.author.emailjirayoot@buu.ac.th
dc.author.emailKampanart_@hotmail.com
dc.year2559th_TH
dc.description.abstractalternativeThis is a qualitative research aiming to study the alternatives for industrial development proposed by the public sector and state mechanisms, by the private sector, and by the popular sector. This research is also intended to compare them and find common agreement between each alternative. In this study, the alternative development theories were used as a tool. Study results indicate that the alternatives for industrial development proposed by the public and private sectors aimed at achieving economic growth as well as striving to become more environmentally friendly and more socially responsible. Their objectives were to push the industrial development in the Eastern Seaboard area forward. On the other hand, alternatives for industrial development proposed by the popular sector or the people who live in the factory areas were different in terms of their methods and issues of concern. When considering their overall objectives, it reveals that they wanted to create conditions in order to distribute benefits from the industrial development. But for the people who live far from the heavily developed industrial areas, they proposed that the development strategies that are suitable for their vernacular landscapes and the industrial development zones need to be established clearly. It can be concluded that the alternatives for industrial development proposed by these different stakeholders are the alternative development under a reform movement.They didn’t turn down the mainstream development completely, but chose to start discoursing about things instead. The subjects like sustainability, responsibility, social justice, and environment have been added into the capital development process in the form of discursive practices and they were represented as green capitalism or participatory development and human development which focuses on people-centered approachesen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_004.pdf2.29 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น