กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3527
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสายสมร นิยมสรวญ
dc.contributor.authorภูวดล วรรธนะชัยแสง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะอัญมณี
dc.date.accessioned2019-04-21T08:32:03Z
dc.date.available2019-04-21T08:32:03Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3527
dc.description.abstractเศษอัญมณีที่เหลือจากกระบวนการผลิต ได้ถูกนำมาพัฒนาให้มีมูลค่าเพิ่มอย่างหลากหลาย เช่น การนำมาทำเป็นของที่ระลึกโดยการขึ้นรูปร่วมกับวัสดุชนิดต่าง ๆ แก้วเชื่อมอุณหภูมิต่ำเป็นวัสดุประเภทแก้วที่ได้ถูกพัฒนาเพื่อนำมาใช้ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกในการเชื่อมประสานวัสดุประเภทเซรามิกส์ เพื่อให้ทนทานต่อการใช้งานที่มีการคายความร้อน แต่อยู่ในช่วงอุณหภูมิที่ไม่สูงมาก แก้วเชื่อมมีอุณหภูมิในการทำงานที่ต่ำเพื่อให้ง่ายต่อการยึดติดกันระหว่างวัสดุสองชิ้น แต่สามารถทนทานต่อการใช้งานในสภาวะแวดล้อมที่มีการคายความร้อนไม่สูง ในโครงการวิจัยนี้มีการศึกษาและพัฒนาแก้วอุณหภูมิต่ำเพื่อช่วยในการเชื่อมประสานเศษอัญมณี โดยการผสมแก้วที่ประกอบด้วยส่วนผสมหลัก คือ CaO2 B2O3 และ SiO2 โดยให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 1100 o C และคงอุณหภูมิไว้ เป็นเวลา 2 ชั่วโมง และมีการศึกษาลักษณะของแก้วเมื่อทำการผสมด้วย ZnO และ MgO และ ผสมด้วย Na2O และ ผสมแก้วที่เหลือใช้จากอุตสาหกรรม และทำการศึกษาการเกาะติดของแก้วกับพลอยชนิดต่าง ๆ และทำการทดสอบโดยการตกกระแทกจากระยะความสูง 1.50 เมตร ลงบนพื้นกระเบื้อง จากผลการทดลองสามารถเลือกแก้ว 2 สูตรมาท าการขึ้นรูปร่วมเครื่องประดับจากแก้วอุณหภูมิต่ำที่ปราศจากตะกั่วร่วมกับเศษอัญมณีเพื่อเป็นเครื่องประดับทีจำนวน 2 ชิ้นได้อย่างประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตาม แก้วสูตรที่นำมาทำการขึ้นรูปยังขาดความเหนียวและมีการแตกร้าวได้ง่าย จึงต้องมีการพัฒนาในโครงการวิจัยต่อเนื่องปีที่ 2 ต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะอัญมณี มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectอัญมณีth_TH
dc.subjectเครื่องประดับth_TH
dc.subjectสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัยth_TH
dc.titleการพัฒนาเครื่องประดับที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจากแก้วอุณหภูมิต่ำที่ปราศจากตะกั่ว (ปีที่ 1)th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of Green Jewelry from Low-Temperature Lead-Free Glassen
dc.typeResearchen
dc.author.emailsaisamor@buu.ac.th
dc.author.emailbhuwadol@yahoo.com
dc.year2560th_TH
dc.description.abstractalternativeGemstone fragments are left over from the cutting process. They are developed to gain their value by shaping with other materials and sale them as a souvenir, for example. Low temperature sealing glass is used in the electronic industry to connect two pieces of ceramic materials. Application of the glass is specifically suitable in an environment with heating where the temperature is not too high. The glass has medium working temperature so it is easy to work with. In this research, the low temperature glass was studied starting with three chemical composition; CaO2 , B2O3 and SiO2 . The chemical powders were heated to 1100 o C and stay at this temperature for 2 hours. Then the glass recipes were developed by adding ZnO and MgO. Their working temperature was further decreased by adding Na2O. Moreover, some recipe was mixed with 4 types of used glasses leftover from the industry. The studied glasses were heated to bond with gemstone fragments. Drop test from 1.50 m high was performed to ensure the bonding ability between the glass and the stone. The result showed two glass recipes that was suitable to further shaped with gemstone fragment to produce a jewelry. Two pieces of jewelry were successfully made to show the creativity of low temperature glass with gemstone fragment. However, the research is in the first year progress. More development is needed for the glass to gain more viscosity which will strengthen the glass and provide higher shape-ability. Further study will be continue in the second year of the researchen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2562_072.pdf2.63 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น