กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3511
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | กุสลวัฒน์ คงประดิษฐ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-04-18T03:35:57Z | |
dc.date.available | 2019-04-18T03:35:57Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3511 | |
dc.description.abstract | ความเหลื่อมลาในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัล (Digital Divide) ด้านการเมือง เกิดจากฐาน ความแตกต่างกันทางเศรษฐกิจจนทําให้บุคคลในสังคมเกดความแปลกแยกจนเป็นการกีดกันทาง การเมือง (Exclusion) ต่อมาบริบททางสังคมได้เปลี่ยนไปจากเทคโนโลยีใหม่จนทาให ํ ้ปัญหา การกีดกันซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น เป็นความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัล จน สังคมล่มสลายดังที่ผ่านมา อย่างไรก็ตามโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และต้นทุนทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีอยู่สามารถนําบทบาทเทคโนโลยีใหม่มาใช้เพื่อลดความเหลื่อมล้ําในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัลด้านการเมืองในชุมชนภาคตะวันออกได้โดยเฉพาะ การรู้เท่าทันสื่อใหม่มีความสำคัญอยางยิ่งต่อการใช้งานสื่อใหม่ ๆ มีประสิทธิภาพสูงสุด การร่วมกัน ทางดิจิทัล (Digital Inclusion) เกิดมีขึ้นได้จากการเพิ่มความระมัดระวังในการสื่อสาร การมีความรู้ และการมีความสามารถใช้สื่อใหม่จากการทดลองใช้หลักสูตร “การฝึกอบรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ ในการเข้าถึงสารสนเทศ และความรู้ดิจิทัล (Digital Divide) ด้านการเมืองในชุมชนภาคตะวันออก” ครั้งนี้ทําให้มีความมั่นใจได้ว่าด้วยเนื้อหาและเวลาที่กําหนดไว้จะเป็นพื้นฐานการแก้ปัญหาความขัดแย้ง หรือลดความเหลื่อมล้ำในสังคมได้ที่ค่านัยคัญทางสถิติ .000 | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงงานวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ 2559 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การสื่อสารด้วยระบบดิจิทัล -- ไทย (ภาคตะวันออก) | th_TH |
dc.subject | การเหลื่อมล้ำทางดิจิทัล | th_TH |
dc.subject | การเหลื่อมล้ำทางดิจิทัล -- หลักสูตร | th_TH |
dc.subject | เทคโนโลยีสารสนเทศ -- แง่การเมือง | th_TH |
dc.subject | สังคมข่าวสาร -- แง่การเมือง | th_TH |
dc.subject | สารสนเทศ | th_TH |
dc.subject | สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การสร้างหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ดิจิทัล (Digital divide) ด้านการเมืองในชุมชนภาคตะวันออก | th_TH |
dc.title.alternative | Constructing a Curriculum in Training for Bridging between the Gap of Digital Divide in Communities in the Eastern Region of Thailand | en |
dc.type | Research | |
dc.author.email | tkongpradit@gmail.com | |
dc.year | 2560 | |
dc.description.abstractalternative | Political digital divide was based on the economical difference - causes exclusion in communities. The problems became more complex as social context has been changed by new technologies. They had evidentially brought to social collapse. However, the existing of ICT infrastructure and social and economic capital can lead to use new technologies to bridge the political digital divide in Thai Eastern communities. Particularly, new media literacy is important for the efficiency of the new technology usage. Digital inclusion can be developed from communication carefulness, and knowledge and application of new technology. From experimenting in “the Curriculum in Training for Bridging between the Gap of Digital Divide in Communities in the Eastern Region of Thailand”, the confidence of content and period of time can surely solve the social conflicts and social divide by the statistical significance at .000 | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2562_059.pdf | 525.59 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น